Comparative Study of the Effectiveness of Teaching Tools Between Manuals and Video Media in the Course of 3D Character Development for Animation and Games
การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพเครื่องมือในการสอนภาคปฏิบัติระหว่างเอกสารคู่มือกับสื่อวิดีโอในรายวิชาการพัฒนาตัวละคร 3 มิติ สำหรับแอนิเมชันและเกม
Keywords:
3D Characters, Compare media performance, Documents, Video MediaAbstract
The objective of this research was to study and compare the effectiveness of teaching tools between manual documents and video media. and to develop media for effective teaching and learning in the course of 3D Character Development for Animation and Games. To find comparisons of differences in learning achievement in using tools for creating 3D characters and to evaluate satisfaction with learning tools between manuals and video media. For practice in creating 3D characters in the course 3D Character Development for Animation and Games. The sample group used in this research are undergraduate students in the academic year 1/2023 who are enrolled in the course 3D Character Development for Animation and Games. Faculty of Science and Technology Animation, Games and Digital Media, divided into 2 study groups, each group has 15 students, totaling 30 students by purposive selection. The sample group received a blended learning method. The tools used in the research include Lesson manual on creating 3D characters, video media on creating 3D characters, learning achievement test to compare differences in learning achievement between teaching tools. Satisfaction evaluation form for learning tools between documents and video media Data were analyzed using frequency, mean, standard deviation, and Pair-sample t test statistics.
The results of the research found that 1) The results of comparing the effectiveness of tools in practical teaching between manual documents and video media. For practicing in creating 3D characters, there is a significant difference at the 0.05 level. 2) The results of comparing differences in learning achievement in using tools for practicing in creating 3D characters are They are significantly different at the 0.05 level. 3) The results of the satisfaction evaluation of the learning tools between the manual and video media found that practicing creating 3D characters using video media had better evaluation results than using the teaching manual. It can be concluded that video media gives students better academic achievement and practical skills in creating 3D characters than manual documents. In the context of 3D character creation work.
References
พงษพัชรินทร พุธวัฒนะ. การจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาผู้เรียนในยุคดิจิทัล. วารสารนวัตกรรมการเรียนรูและเทคโนโลยี 2564;1(2):1-11.
วลัยนุช สกุลนุ้ย. ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้สื่อการสอนตามความคิดเห็นของครู ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดนนทบุรี [ทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัย ราชพฤกษ์]. วิทยาลัย ราชพฤกษ์; นนทบุรี: 2556.
จักรกฤษณ์ ฮั่นยะลา. การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสื่อการสอนระหว่างสื่อประเภทสไลด์ กับวิดีโอในรายวิชาระบบบริหารและการประกันคุณภาพ. วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 2556;6(1): 1-8.
รจนา คำดีเกิด. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เกมส์ สื่อวีดีทัศน์ และบทบาทสมมุติ[อินเทอร์เน็ต].2563 [เข้าถึงเมื่อ 10 มกราคม 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://www.ubu.ac.th/web/kmubu/content/การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เกมส์ สื่อวีดีทัศน์ และบทบาทสมมุติ by รจนา 20 คำดีเกิด/
วราพร ดำจับ. การออกแบบสื่อแอนิเมชันเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน.วารสารสหศาสตร์ศรีปทุม ชลบุรี 2556;9(1):1-20.
เกศนีย์ อิ่นอ้าย, กนิษฐ์กานต์ ปันแก้ว. การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์ประกอบการเรียนการสอน เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนครูให้กับ โรงเรียนขนาดเล็กในจังหวัดลำปางและลำพูน.สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ 2567;11(1):1-13.
กรกต ธัชศฤงคารสกุล. การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเรื่องดนตรีจีนบางหลวงสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเจี้ยนหัว อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม. [วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษาภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์] กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร; 2554.
กนกวรรณ นำมา, สูติเทพ ศิริพิพัฒนกุล, ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. การพัฒนาสื่อดิจิทัลวิดีโอร่วมกับการเรียนรู้แบบปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียนเพื่อเสริมสร้างทัศนคติ เชิงบวกต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์อย่างมีความสุข. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนครเหนือ 2564;12(2):1-11.
ปริวรรต สมนึก. การพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่อวีดิทัศน์เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง “ผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว”. วารสารวิชาการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ 2558;11(1):4-17.
วาสนา ทวีกุลทรัพย์. การพัฒนาชุดฝึกอบรมทางไกล เรื่อง การออกแบบระบบการเรียนการสอนที่ยึดสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเสียง และสื่อภาพเป็นสื่อหลัก สำหรับครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี. วารสารศึกษาศาสตร์ 2560;28(3): 102-11
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. การจัดการเรียนการสอน. เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีการสอน หน่วยที่ 10.นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศึกษาศาสตร์; 2555.
สมัคร อยู่ลอง. การพัฒนาวีดิทัศน์เพื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองเรื่อง การเป็นผู้ดำเนินรายการและวิทยากรรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม [หลักสูตรปริญญา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2556.
จิราภรณ์ เฟื่องฟุ้ง. การศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสื่อการสอนระหว่างสื่อประเภทสไลด์ กับวิดีโอในรายวิชาระบบบริหารและการประกันคุณภาพ [วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิทยาลัยครุศาสตร์] กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์; 2559.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 Animation Game Digital Media and Technology Journal

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.