การพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเกมการศึกษา

Main Article Content

พัฒน์นรี จันทราภิรมย์
ธมนวรรณ โสพันธ์

บทคัดย่อ

             การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา   2) เพื่อเปรียบเทียบการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ เด็กนักเรียนชาย - หญิง อายุระหว่าง 4–5 ปี กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนวัดอัยยิการาม จำนวน 20 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ กิจกรรมเกมการศึกษาและแบบทดสอบการคิดวิเคราะห์  แบบแผนการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงทดลอง แบบศึกษากลุ่มเดียวจัดสองครั้งสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การทดสอบคู่ t - test for dependent samples ผลการวิจัยพบว่าผลสัมฤทธิ์ด้านการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย  หลังจากใช้กิจกรรมเกมการศึกษามีระดับสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Article Details

How to Cite
จันทราภิรมย์ พ. ., & โสพันธ์ ธ. . (2022). การพัฒนาการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมเกมการศึกษา. วารสารเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์และนวัตกรรม, 1(1), 57–69. สืบค้น จาก https://li02.tci-thaijo.org/index.php/JHET/article/view/292
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ.(2555.) “หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551”. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2549.) “ความหมายการคิดวิเคราะห์” กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย. คณะกรรมการการศึกษาเอกชน

จงจิต เค้าสิม และ สัมฤทธิ์ กางเพ็ง (2564). เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงาน การสอน หลักสูตร สนุกกับเกมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดของเด็กปฐมวัย หน่วยพัฒนาครูครุศาสตร์ปัญญา สถาบันคุรุพัฒนา สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา กระทรวงศึกษาธิการ.

ฉัตรมงคล สวนกัน (2555.)ฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยโดยการจัดประสบการณ์ด้วยเกมการศึกษา วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 : มกราคม – มิถุนายน 2555

ประจักษ์ อเนกฤทธิ์มงคล และ อัญชลี ทองเอม. (2562.) การพัฒนาความสามารถการคิดวิเคราะห์พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กระดับปฐมวัยโดยใช้ชุดกิจกรรม. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์

ปรียวาท น้อยคล้าย. (2533). ทักษะในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่นเกมการศึกษา.

ประกอบภาพ. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. กรุงเทพฯ บันฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทราวิโรฒ.

พรรณทิพา มีสาวงษ์. (2554 : ) ผลของการจัดกิจกรรมการเล่านิทานประกอบการใช้คำถามที่มีต่อทักษะการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัย . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์/กรุงเทพฯ.

รุ่งทิพย์ ศรสิงห์ พรชัย ทองเจือ และ ผ่องลักษม์ จิตต์การุญ. (2560 : 92-104) การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยโดยใช้เกมการศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 มกราคม–มิถุนายน 2560.

วรเกียรติ ทองไทย. (2553). ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเล่าเรื่องจากหนังสือภาพ. ปริญญานิพนธ.กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สโรชา ภุมมาลี (2563.) การใช้กิจกรรมเกมการศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะคณิตศาสตร์ด้านการนับ และการจัดลำดับของนักเรียนชั้นอนุบาล 1/4 โรงเรียนเทศบาล 1 วัดศรีเมือง. คณะศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

สุมาลี หมวดไธสง. (2554.) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน. ปริญญานิพนธ์ หลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทราวิโรฒ.

เยาวพรรณ ทิมทอง. (2535.) “จุดมุ่งหมายเกมการศึกษา”. กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ

ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2551.) การพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ : เทคนิคพริ้นติ้ง

สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2536). พัฒนาการของคุณภาพนักเรียนประถมศึกษาและแนว

ทางการประเมิน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). คู่มือครูเกมการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2565, จาก

https://sites.google.com/a/chiangmaiarea1.go.th/sux-60-phrrsa-smdec-phra-theph/pthmway-phakh-

reiyn-thi-2

สุวิทย์ มูลคำ. (2550.) “ลักษณะการคิดวิเคราะห์”. กรุงเทพฯ : ดวงกมลมัย

“เทคนิคสร้างสรรค์เสริมทักษะการคิดวิเคราะห์”. กรุงเทพฯ : ดวงกมลมัย

อารี เกษมรัติ. (2553.) “หลักในการใช้เกมการศึกษา”. กรุงเทพฯ : ชมรมไทยอิสราเอล.

Bruner, J.S.; others. (1966). Studies in Cognitive Geowth, A Collarboration at the Center for Cognitive

Studies. 2nd ed. New york: John Wiley & Son.Inc.

Bright, G. W.; & John G. (1980, May- June). Harvey and Margaiete Montaque Wheeler. “Achievement

Grouping with Mathematics Concept”

Kincaid, William Arthur. " A Study of Effects on Childeren's Attitude and Achievement in Mathematics

Resulting from the Mathematics Game into the Home by Specially Trained Parents." Dissertation

Abstracts International 37,6 (January 1977):41-95-A.

Orcutt, L.E. " Child Management of Instructional Games: effects Upon Cognitive Abilities, Behavioral Maturity

and Self Concept." Dissertation Abstracts International 35, 1(July 1972) :1-147.

Donnaduc Krewell, Pinter." The Effects of an Academic Games." Dissertation Abstracts International 18,2

(August 1977): 710 -A.