การพัฒนาระบบจัดการผ้ากะเหรี่ยง

ผู้แต่ง

  • รัชชานนท์ ใจหมื่น สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
  • อังศนา พงษ์นุ่มกูล สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

DOI:

https://doi.org/10.57260/stc.2023.618

คำสำคัญ:

การพัฒนา, ระบบจัดการผ้ากะเหรี่ยง, ผ้ากะเหรี่ยง

บทคัดย่อ

การพัฒนาระบบจัดการผ้ากะเหรี่ยง  มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบร้านขายสินค้า OTOP ประเภท เสื้อกะเหรี่ยง กระเป๋า ผ้าทอ กำไล แบบออนไลน์  เพื่อออกแบบเว็บไซต์ที่สามารถจัดการ การทำงานได้ในรูปแบบต่างๆ เช่น การจัดการคลังสินค้า การแก้ไขข้อมูล การเพิ่มข้อมูลและการเรียกดูรายงานการซื้อขายได้ตามช่วงเวลา ช่วยอำนวยความ สะดวกให้แก่ลูกค้าที่เข้ามาชมเว็บไซต์หรือสนใจซื้อสินค้า สามารถซื้อสินค้าในเลือกช่องทางการสั่งซื้อสินค้าผ่านระบบออนไลน์หลากหลายแบบ เช่นทาง facebook ทางเว็บไซต์ได้ โดยใช้โปรแกรม WordPress , WooCommerce และ hostings.ruk-com.in.th ในการพัฒนาระบบร้านค้า ออนไลน์ เพื่อให้ลูกค้าตัดสินใจในการเลือกสินค้าได้ง่ายมากขึ้น 

ผลการศึกษา พบว่า ผลการพัฒนาระบบจัดการผ้าทอกะเหรี่ยง เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นเพื่อการเลือกซื้อสินค้าผ่านทางระบบออนไลน์สามารถเลือกซื้อสินค้าผ่านเพจ facebook ออนไลน์หรือเว็บไซต์ของทางร้านhttps://karenwovencloth.com/  โดยไม่ต้องเดินทาง อีกทั้งยังประหยัดเวลาต่อการเลือกซื้อสินค้าและสะดวก ต่อการชำระเงิน สามารถตรวจสอบการสั่งซื้อ และข้อมูลต่างๆ ได้ง่ายผ่านเว็บไซต์ระบบขายสินค้า ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการใช้งานเว็บไซต์ ด้านการออกแบบเว็บไซต์และระบบร้านค้าออนไลน์ พบว่ามีความพึงพอใจต่อการใช้งานเว็บไซต์อยู่ในระดับดี   

References

กนกวรรณ ไทยประดิษฐ์ และ กรวินท์ เขมะพันธุ์มนัส. (2563). รูปแบบการตลาดออนไลน์บนเครื่องมือเครือข่ายสังคมออนไลน์ (เฟซบุ๊ก) สำหรับวิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผ้าทอนาหมื่นศรี อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง. วารสาร BU Academic Review, 19(1), 155-172. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/buacademicreview/article/view/182075

กฤตกร ใคร่ครวญ, อุไรรัตน์ แซ่ตั้ง, สุภาพ เทนอิสสระ, นิลุบล ทองชัย และ กชกร เจตินัย. (2564). การพัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลร้านค้าชุมชน กรณีศึกษาศูนย์สาธิตการเกษตรร้านค้าชุมชนตำบลท่าเสา. วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 11(2), 121-131. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jitubru/article/view/241772

กานดา ศรอินทร์. (2561). การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการหน้าร้านของธุรกิจร้านกาแฟด้วยไลน์แชทบอท. วารสารวิชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, 16(1), 25-40. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/crma-journal/article/view/243123/165347

เกศแก้ว ประดิษฐ์. (2561). การพัฒนาช่องทางจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ข้าว ด้วยระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านบอฆอ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(2), 152-164. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jcosci/article/view/169441/121895

ชุติมา นิ่มนวล. (2560). การพัฒนาระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อสนับสนุนการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชนของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารราชภัฏเพชรบูรณ์, 19(2), 57-64. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/jpcru/article/view/202901

ฐิติยา เนตรวงษ์, วิชชา ฉิมพลี , วิทยา ศิริพันธ์วัฒนา และ ภูริพจน์ แก้วย่อง. (2564). นวัตกรรมร้านค้าอัจฉริยะสำหรับธุรกิจอาหารและเบเกอรี่ยุคปกติใหม่.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 23(1), 31-43. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/sci_ubu/article/view/248017

ธีรภพ แสงศรี. (2563). การพัฒนาระบบตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับเกษตรกร สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, 8(2), 81-91. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/247274/168245

ทศพล บุญศิริ, ทรวงชนก รักษ์เจริญ และ อรอนงค์ ศรีไพโรจน์. (2565). การบริการคลังสินค้าออนไลน์คืออะไร. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 32(1), 134-147. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pyu/article/view/260321

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

พัชราภรณ์ หงส์สิบสอง. (2565). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการข้อมูลวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผ้าทอ จังหวัดน่าน. Journal of Information and Learning [JIL], 33(2), 98-107. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jil

พัดวี เวปสคูล. (2565) คู่มือสร้างเว็บไซต์ ขายของออนไลน์ด้วย WordPress [ฉบับ 2021]. สืบค้นจาก https://padveewebschool.com/wordpress-ecommerce

ศศิกานต์ ไพลกลาง,สุมาลี คัดสูงเนิน, ชัยภัทร สุพันพิม, รัตติยาพร พันธ์ภักดี, สโรชา ไชยสงค์ และ นงลักษ์ อันทะเดช. (2566). เว็บไซต์ภูมิปัญญาท้องถิ่น “ของดี๋ด่านเกวียน” สำหรับการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการขายสินค้าชุมชน จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการเพื่อการพัฒนานวัตกรรมเชิงพื้นที่ (JSID), 4(2), 30-48. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jsid/article/view/251792

แสงเพ็ชร พระฉาย, ศรายุทธ เนียนกระโทก, สุระ วรรณแสง และ ประภานุช ถีสูงเนิน. (2562). การพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อสนับสนุนรูปแบบเทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหัวเฉียวเฉลืมพระเกียรติ, 5(1), 88-100. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/scihcu/article/view/243736

อรยา สุขนิตย์ และ สุรสิทธิ์ ศักดา. (2563). ระบบจัดการความรู้ภูมิปัญญาการทอผ้าของผู้สูงอายุในเขตภาคใต้ตอนบน. วารสารวิชาการ : TM การจัดการเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 7(2), 106-116. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/itm-journal/article/view/240024

อเสข ขันธวิชัย. (2564). การสร้างตลาดออนไลน์เกษตรกรนาเกลือและนาข้าวเพื่อยกระดับมูลค่า และคุณค่าผลิตภัณฑ์อัตลักษณ์ “วิถีวิธีบ้านดุง”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 10(1), 109-126. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/hsudru/article/view/245949

อิสรี ไพเราะ. (2564). ผลกระทบของกลยุทธ์การสื่อสารทางการตลาดที่มีผลต่อการจัดจำหน่ายผ่านระบบออนไลน์ ของผลิตภัณฑ์ OTOP จังหวัดนครปฐม. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี, 15(2), 18-40. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sjss/article/view/248353

Duffett, R. D. (2017). Influence of social media marketing communications on young consumers’ attitudes, Young Consumers, 18(1), 19-39. DOI:10.1108/YC-07-2016-00622

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-30

How to Cite

ใจหมื่น ร. ., & พงษ์นุ่มกูล อ. . (2023). การพัฒนาระบบจัดการผ้ากะเหรี่ยง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(4), 44–58. https://doi.org/10.57260/stc.2023.618