พฤติกรรมทั่วไปของฝูงโคเนื้อและสุนัข และความสัมพันธ์ต่างชนิด
DOI:
https://doi.org/10.57260/stc.2023.630คำสำคัญ:
พฤติกรรมทางสังคม , ฝูงโคเนื้อ , สุนัข , ความสัมพันธ์ต่างชนิดบทคัดย่อ
จากการศึกษาพฤติกรรมทั่วไปของฝูงโคเนื้อและสุนัขในฟาร์มโคเนื้อแห่งหนึ่ง พื้นที่ตำบลสะลวง อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วยโคเนื้อจำนวน 26 ตัว ได้แก่ เพศเมีย 15 ตัวและเพศผู้ 11 ตัว และสุนัขเพศผู้ 2 ตัว ตั้งแต่เดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม พ.ศ. 2565 โดยบันทึกพฤติกรรมทั่วไปทั้งหมดในช่วงเวลา 06.00 – 18.00 น. ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณแบบ Focal-scan sampling method ทุกๆ 10 นาที พบพฤติกรรมที่มีมาแต่กำเนิดของฝูงโคเนื้อและสุนัขแบ่งเป็น 4 กลุ่มพฤติกรรมใหญ่ๆ ได้แก่ การกินและการขับถ่าย การเคลื่อนที่ พฤติกรรมสบายตัว และการพักผ่อน พฤติกรรมทางสังคมของฝูงโคเนื้อและสุนัขแบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ การต่อสู้ การเลี้ยงลูก และพฤติกรรมฝูง ซึ่งพบลักษณะของพฤติกรรมทางสังคม 3 ลักษณะ ดังนี้ 1) พฤติกรรมทางสังคมของฝูงโคเนื้อ ได้แก่ การเล่น การทำความสะอาดตัวให้กัน การเตือนภัย การให้นมลูก 2) พฤติกรรมทางสังคมของสุนัข ได้แก่ การวิ่งไล่ การขู่ การส่งเสียง การเล่น 3) ความสัมพันธ์ระหว่างฝูงโคเนื้อและสุนัข ได้แก่ การเดินตามฝูงโคเนื้อของสุนัข การส่งเสียงเตือนฝูงโคเนื้อของสุนัข การทำความสะอาดให้สุนัขของโคเนื้อ
References
กัญญ์วรา วงค์แพทย์ และ ณัฐธิดา สุภาหาญ. (2562). พฤติกรรมของนกเป็ดแดง (Dendrocygna javanica) บริเวณอ่างเก็บน้ำภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ศูนย์แม่ริม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ สวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ประจำปี 2562, ครั้งที่ 2 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2562 โรงแรมเดอะรอยัลริเวอร์ กรุงเทพมหานคร.
นริทธิ์ สีตะสุวรรณ. (2548). พฤติกรรมวิทยา. เชียงใหม่: ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Ahlberg, C. (2018). Characterization of water intake in beef cattle: Test length guidelines, water intake prediction, and genetic parameters. Doctoral dissertation, Kansas State University. Retrieved from https://krex.k-state.edu/bitstream/handle/2097/38950/CashleyAhlberg2018.pdf?sequence=3
Cortez-Aguirre, G. R., Jiménez-Coello, M., Gutiérrez-Blanco, E., & Ortega-Pacheco, A. (2018). Stray dog population in a city of Southern Mexico and its impact on the contamination of public areas. Veterinary Medicine International, ID 2381583, 1–6.
https://doi.org/10.1155/2018/2381583
Ghosh, P., Singh, D., & Singh, A. K. (2022). Mutualism. In: Vonk, J., Shackelford, T.K. (eds), Encyclopedia of animal cognition and behavior. Springer, Cham. Retrieved from
https://doi.org/10.1007/978-3-319-55065-7_1377
Haskell, M. J., Rooke, J. A., Roehe, R., Turner, S. P., Hyslop, J. J., Waterhouse, A., & Duthie, C.-A. (2019). Relationships between feeding behaviour, activity, dominance and feed efficiency in finishing beef steers. Applied Animal Behaviour Science, 210, 9–15. https://doi.org/10.1016/j.applanim.2018.10.012
Hubbard, A. J., Foster, M. J., & Daigle, C. L. (2021). Social dominance in beef cattle — A scoping review. Applied Animal Behaviour Science, 241, 1-14.
https://doi.org/10.1016/j.applanim.2021.105390
Kent, J. (2020). The cow–calf relationship: From maternal responsiveness to the maternal bond and the possibilities for fostering. Journal of Dairy Research, 87(S1), 101-107. https://doi.org/10.1017/S0022029920000436
Kumar, S. R., & Pati, A. K. (2019). Circadian rhythm in behavioral activities and diurnal abundance of stray street dogs in the city of Sambalpur, Odisha, India. Chronobiology International: The Journal of Biological & Medical Rhythm Research, 36(12), 1658–1670. https://doi.org/10.1080/07420528.2019.1668802
Martin, D. M., Moraes, R. F., Cintra, M. C. R., Lang, C. R., Monteiro, A. L. G., Oliveira, L. B. de, & Moraes, A. de. (2022). Beef cattle behavior in integrated crop-livestock systems. Ciência Rural, 52(3), 1-8. https://doi.org/10.1590/0103-8478cr20210143
Nevard, R. P., Pant, S. D., Broster, J. C., Norman, S. T., & Stephen, C. P. (2022). Maternal behavior in beef cattle: The physiology, assessment and future directions—A review. Veterinary Sciences, 10(1), 1-25. https://doi.org/10.3390/vetsci10010010
Pérez-Barbería, F. (2020). The ruminant: Life history and digestive physiology of a symbiotic animal. In: Sustainable and environmentally friendly dairy farms. SpringerBriefs in Applied Sciences and Technology. Springer, Cham. Retrieved from
https://doi.org/10.1007/978-3-030-46060-0_2
Shepley, E., Lensink, J., & Vasseur, E. (2020). Cow in motion: A review of the impact of housing systems on movement opportunity of dairy cows and implications on locomotor activity. Applied Animal Behaviour Science, 230, 105026. Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.applanim.2020.105026
Valente, J. de P. S., Deniz, M., de Sousa, K. T., Mercadante, M. E. Z., & Dias, L. T. (2022). socialh: An R package for determining the social hierarchy of animals using data from individual electronic bins. PLoS ONE, 17(8), 1–15. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0271337
Waiblinger, S., Wagner, K., Hillmann, E., & Barth, K. (2020). Play and social behaviour of calves with or without access to their dam and other cows. The Journal of Dairy Research, 87(S1), 144–147. https://doi.org/10.1017/S0022029920000540
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน “วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน” ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2. เนื้อหาบทความที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ