การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่องแก๊งคอลเซ็นเตอร์

ผู้แต่ง

  • อภิวัฒน์ ชัยกลาง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • พิมพ์ชนก สุวรรณศรี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

DOI:

https://doi.org/10.57260/stc.2024.828

คำสำคัญ:

แก๊งคอลเซ็นเตอร์ , แอนิเมชัน, การ์ตูน

บทคัดย่อ

การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง แก๊งคอลเซ็นเตอร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง แก๊งคอลเซ็นเตอร์ และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง แก๊งคอลเซ็นเตอร์ โดยกลุ่มตัวอย่างได้แก่ บุคคลทั่วไปวัยกลางคน จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ 1) การ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่องแก๊งคอลเซ็นเตอร์ 2) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากผลการศึกษาการพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง แก๊งคอลเซ็นเตอร์ ซึ่งมีขั้นตอนการพัฒนาโดย ใช้หลักการ 3P ในพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชันซึ่งประกอบไปด้วย Pre-production (ขั้นตอนก่อนการผลิต) Production (ขั้นตอนการผลิต) Post-production (ขั้นตอนหลังการผลิต) ทำให้ได้การ์ตูนความยาว 7 นาที มีเนื้อหาเกี่ยวกับวิธีการรับมือกับแก๊งคอลเซ็นเตอร์และผลความพึงพอใจซึ่งอยู่ในระดับความรู้ความเข้าใจในระดับดี โดยค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.48

References

จักรพงษ์ กังวานโสภณ. (2565). ความผิดฐานฉ้อโกง : ศึกษากรณีการหลอกลวงทางโทรศัพท์ (แก๊งคอลเซ็นเตอร์). วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา, 7(1), 280-290. สืบค้นจาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rdibsru/article/view/255877

ฉัตร์ฤดี อนันต์ศิริขจร. (2559). เมื่อคุณตกเป็นเหยื่อ'แก๊งคอลเซ็นเตอร์'...ต้องทำอย่างไร?. กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/business/715786

เฉลิมวุฒิ สุตโท และ ธวัชชัย สหพงษ์. (2559). การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง หนูเมืองกับหนูนา. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, 2(1), 9-17. สืบค้นจาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/152751

ฤทธิไกร ไชยงาม. (2562). มาตรวัดเจตคติแบบลิเคิร์ท. สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/659229

ต่อศิลป์ ตันเจริญ และ สมพงษ์ อัศวบุญมี. (2566). ปัญหาแก๊งคอลเซนเตอร์โทรหลอกลวง. บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน). กรุงเทพฯ.

ธนภัทร ทองสอน. (2564). อาชญากรรมแก๊งคอลเซ็นเตอร์. สืบค้นจาก https://researchcafe.org/call-center-crime/

ปุณยวีร์ ทองคำ. (2565). การ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560 (ฉบับที่ 2). ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

ผู้จัดการออนไลน์. (2566). คุมไม่อยู่! “แก๊งคอลเซ็นเตอร์” “มษุษย์แม่” เหยื่อเบอร์ 1 อาชญากรรมออนไลน์พุ่งไม่หยุด. สืบค้นจาก https://mgronline.com/daily/detail/9660000074655

พัชระ ไทเกอร์. (2565). เปิดสคริปต์ แก๊งคอลเซ็นเตอร์ หลังตำรวจบุกทลายออฟฟิศใหญ่ที่กัมพูชา. สืบค้นจาก https://thethaiger.com/th/news/549089/

พัฒนา พรหมณ, ยุพิน พิทยาวัฒนชัย และ จีระศักดิ์ ทัพผา. แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจและการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน. วารสารวิชาการ, 26(1), 59-66. สืบค้นจาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/apheit-ss/article/view/241557

ราชกิจจานุเบกษา. (2560). พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560. เล่ม 134 ตอนที่ 10 ก (24 มกราคอม 2560).

วชิรพงษ์ ปาอ้าย. (2562). การ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติเรื่อง ภัยร้ายจากสังคมออนไลน์. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

สันติภาพ วงค์แก้วโพธิ์ทอง. (2558). การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง สายเกิน. คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

อาริยา สุขโต. (2565). ภัยอาชญากรรมแก๊งคอลเซ็นเตอร์. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สำนักวิชาการ.

Wikipidia. (2560). Middle age. สืบค้นจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Middle_age

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-10-29

How to Cite

ชัยกลาง อ., & สุวรรณศรี พ. . (2024). การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่องแก๊งคอลเซ็นเตอร์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 2(6), 63–73. https://doi.org/10.57260/stc.2024.828