The Effect of Acute Hemorrhagic Disease Control Program and Ban-Yung on Acute Hemorrhagic Disease Prevention and Control Behaviors Bangkok Study Area

ผลของโปรแกรมการป้องกันไข้เลือดออกและบ้านยุงต่อพฤติกรรมการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนพื้นที่ศึกษากรุงเทพมหานคร

Authors

  • Sarintorn Patampan Faculty of Health Sciences, Siam Technology College, Bangkok
  • Lin-Zhong Borhirunrat Faculty of Health Sciences, Siam Technology College, Bangkok
  • Sasithon Lorenz Faculty of Health Sciences, Siam Technology College, ฺBangkok
  • Onanong Wuthiyakornkul Faculty of Health Sciences, Siam Technology College, ฺBangkok

Keywords:

Acute hemorrhagic disease control program and Ban-Yung, Mosquito larvae, Acute hemorrhagic disease

Abstract

         This study was a quasi-experimental study, with one group pretest-posttest design. The objective was to study the effect of acute hemorrhagic disease control program and Ban-Yung on acute hemorrhagic disease prevention and control behaviors in Thawi Watthana district, Bangkok.  Comparing the average scores for control behavior of mosquito larvae, scores of satisfaction, and the mosquito larvae index before and after receiving the acute hemorrhagic disease control program and Ban-Yung. The result showed that the total sample of 48 people, mostly 72.92% were female, aged 65-69 years were 50.00%. Elementary education level was 83.33%, hypertension was 45.83%. The volunteers' behaviors after receiving the acute hemorrhagic disease control program and Ban-Yung were significantly improved in the prevention and elimination of aedes larvae statistically (p-value<.001), as well as the survey behavior of mosquito larvae (p-value<.001), the overall satisfying was 4.27±0.67 at the most satisfied level same as performance and reasonable price. The mosquito larvae prevalence index, the HI was 18.75, 10.42 and 6.25 respectively and the CI was 15.10 10.94 and 9.38 respectively, which continued to decrease. This study indicated that acute hemorrhagic disease control program and Ban-Yung affects acute hemorrhagic disease prevention and control behaviors and aedes larvae prevalence index.

Downloads

Download data is not yet available.

References

กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. สรุปรายงานเฝ้าระวังประจำปี 2563. [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://ddc.moph.go.th/

อุษาวดี ถาวระ. ยุงพาหะ ชีววิทยาและการควบคุมแมลงที่เป็นปัญหาสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: บริษัท หนังสือดีวัน จำกัด; 2553.

อภิวัฏ ธวัชสิน, อุษาวดี ถาวระ. แมลงทางการแพทย์ ชีววิทยาและนวัตกรรมในการป้องกันกำจัดแมลง. นนทบุรี: สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์; 2559.

สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค. รายงานการประเมินผลการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ภาพรวมระดับประเทศ. นนทบุรี: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด; 2554.

ฝ่ายชีววิทยาและนิเวศวิทยา กลุ่มกีฏวิทยาทางการแพทย์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. ชีววิทยา นิเวศวิทยา และการควบคุมยุงในประเทศไทย. นนทบุรี: กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์; 2553.

กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร. สถานการณ์โรคไข้เลือดออก กรุงเทพมหานคร ประจำสัปดาห์ที่ 48 ปี 2563 ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 5 มกราคม – 5 ธันวาคม 2563 [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://www.bangkok.go.th/

กองควบคุมโรคติดต่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร. อัตราการป่วยไข้เลือดออกสะสม จำแนกตามเขตกรุงเทพมหานคร สัปดาห์ที่ 35 ปี 2563 ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 5 มกราคม – 5 กันยายน 2563 [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://webportal.bangkok.go.th/

สมจิตต์ สุพรรณทัสน์. การจูงใจ เอกสารการสอนวิชาสุขศึกษา หน่วยที่ 1-7. พิมพ์ครั้งที่ 14. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช: 2540.

WHO. Monograph on Dengue/Dengue Hemorrhagic Fever. SEARO: Regional Publication. 1993.

Grove, S. K., Burns, N., & Gray, J. The practice of nursing research: Appraisal, synthesis, and generation of evidence. Elsevier Health Sciences; 2012.

วิกร ตันทวุฑโดม. เครื่องมือในการวิจัย [อินเทอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 15 พฤษภาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: http://hsmi.psu.ac.th/paper/360/

อเนก สุวรรณบัณฑิต และภาสกร อดุลพัฒนกิจ. จิตวิทยาการบริการ. กรุงเทพฯ: เพรส แอนด์ ดีไซน์; 2548.

นันทิตา กุณราชา, สุภาพร ตรงสกุล, วรรณรัตน์ ลาวัง, พิษณุรักษ์ กันทวี. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในกลุ่มชาติพันธุ์ อาข่าอำเภอแม่จันจังหวัดเชียงราย. เชียงรายเวชสาร 2560;9(2):91-103.

พิมพ์ลดา อนันต์สิริเกษม. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพบลูกนํ้ายุงลายในครัวเรือนของอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล 2556;19(1):57-65.

อรพินท์ พรหมวิเศษ ,ชาตรี ประชาพิพัฒน์, สาโรจน์ เพชรมณี. กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยใช้เทคนิคกระบวนการ Appreciation Influence Control: บ้านช่องอินทนิน หมู่ 10 ตำบลตะกุกเหนือ อำเภอวิภาวดี จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2559;4(2):167-183.

Additional Files

Published

08-05-2023

How to Cite

1.
Patampan S, Borhirunrat L-Z, Lorenz S, Wuthiyakornkul O. The Effect of Acute Hemorrhagic Disease Control Program and Ban-Yung on Acute Hemorrhagic Disease Prevention and Control Behaviors Bangkok Study Area: ผลของโปรแกรมการป้องกันไข้เลือดออกและบ้านยุงต่อพฤติกรรมการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนพื้นที่ศึกษากรุงเทพมหานคร. AdvSciJ [Internet]. 2023 May 8 [cited 2024 Jul. 27];23(1):R89 - R103. Available from: https://li02.tci-thaijo.org/index.php/adscij/article/view/555

Issue

Section

Research Articles