ผลของคาร์บอนไดออกไซด์ต่อการเจริญและพัฒนาของเนื้อเยื่ออนูเบียสบาร์เทอรี ที่เพาะเลี้ยงในระบบไบโอรีแอคเตอร์จมชั่วคราวในสภาพปลอดเชื้อ

ผู้แต่ง

  • Aphichat Chidburee Faculty of Science and Agricultural Technology, Rajamangala University of Technology Lanna Lampang Lampang 52000, Thailand.
  • พิทักษ์ พุทธวรชัย สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จังหวัดลำปาง 52000
  • ศิริพรรณ สารินทร์ ภาควิชาจุลชีววิทยาและปรสิตวิทยา คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ มหาวิทยลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก 65000
  • เพียงพิมพ์ ชิดบุรี สาขาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาลำปาง จังหวัดลำปาง 52000

DOI:

https://doi.org/10.55164/jtai.v1i1.157

คำสำคัญ:

ไบโอรีแอคเตอร์จมชั่วคราวแบบเติม CO2 , อนูเบียสบาร์เทอรี

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญและพัฒนาของเนื้อเยื่ออนูเบียสบาร์เทอรี (Anubias barteri var. Barteri) ที่ทำการเพาะเลี้ยงในไบโอรีแอคเตอร์จมชั่วคราวที่มีการเติมคาร์บอนไดออกไซด์เปรียบเทียบกับการเพาะเลี้ยงบนอาหารกึ่งแข็งสูตร MS และในอาหารเหลวสูตร MS บนเครื่องเขย่า โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (completely randomized design, CRD) จำนวน 3 กรรมวิธี ๆ ละ 4 ซ้ำ เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออนูเบียสบาร์เทอรีในไบโอรีแอคเตอร์จมชั่วคราวที่ให้อาหาร 8 ครั้งต่อวัน และมีการเติมก๊าซ CO2 ที่ความเข้มข้น 500 พีพีเอ็ม มีจำนวนยอดต่อชิ้นส่วนมากที่สุดแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) คือ 10.15±0.44 ยอดต่อชิ้นส่วน และมีจำนวนใบ 5.35±0.33 ใบต่อชิ้นส่วน ไม่มีอาการฉ่ำน้ำของชิ้นส่วนเนื้อเยื่อ และไม่พบการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ เมื่อเปรียบเที่ยบกับเพาะเลี้ยงบนอาหารกึ่งแข็งและในอาหารเหลว

References

กาญจนรี พงษ์ฉวี. (2547). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออนูเบียส. ในการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42 (น.45-52) สาขาประมง สาขาอุตสาหกรรมเกษตร, กรุงเทพมหานคร.

ชานนท์ กล่องกำแหง, นงนุช เลาหะวิสุทธิ์ และบุปผา จงพัฒน์. (2562). การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพรรไม้น้ำอนูเบียสคอนเจนซิสโดยใช้ Thidiazuron. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 37(4): 642-647.

ณัฐพงศ์ จันจุฬา และพิมพรรณ พิมลรัตน์. (2563). อิทธิพลของ BA และระยะเวลาการให้อาหารในระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราวต่อการเพิ่มจำนวต้นแก้วหน้าม้า. Thai journal of Science and Technology. 9(5): 642-649.

ณิชารีย์ เธียรชาติสกุล, นงนุช เลาหะวิสุทธิ์ และสมเกียรติ สีสนอง. (2562). การใช้ระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราวในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ออนูเบียสสบาร์เทอรีบรอดลีฟ. วารสารเกษตรพระจอมเก้า. 37(1): 23-31.

นพมณี โทปุญญานนท์. (2549). ระบบไบโอรีแอคเตอร์จมชั่วคราว นวัตกรรมการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชแบบใหม่.

ปณิธาน ทองแกมแก้ว และจักรกฤษณ์ พจนศิลป์. (2559). การวิเคราะห์ธุรกิจการผลิตพรรณไม้น้ำเพื่อการส่งออก. วารสารเศรษฐศาสตร์รามคำแหง. 2(2) กรฏาคม-ธันวาคม. 1-17.

พรศักดิ์ บุญมณี. (2550). การพัฒนาระบบไบโอรีแอคเตอร์จมชั่วคราวต้นทุนต่ำเพื่อใช้ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อปทุมมา. วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

แววดาว หมื่นสำราญ และนพมณี โทปุญญานนท์. (2555). การขยายพันธุ์อเมซอน (Echinodorus sp.) ด้วยระบบไบโอรีแอคเตอร์แบบจมชั่วคราว. ว.วิทย.กษ. 42(1): 69-78.

อรุณี รอดลอย. (2563). การบริหารจัดการ การผลิตและการตลาดพรรไม้น้ำสวยงามในประเทศไทยเพื่อการส่งออกและการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน. กองวิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืด, กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

Berthouly, M & Etienne, H. (2005). Temporary immersion system: A new concept. In Hvoslef–Eide, A. K. and W. Preil. (eds.) Liquid culture system for in vitro plant propagation. Dordrecht: Springer 165-196.

Cui, H-Y., Murthy, H.N., Moh, S.H., Cui, Y-Y., Lee, E-J. & Paek, K-Y. (2014). Production of biomass and bioactive compounds in protocorm culture of Dendrobium candidum Wall ex Lindl using balloon type bubble bioreactors. Industrial Crops and Products. 53: 28-33.

Gouk, S.S., He, J. & Hew, C.S., (1999) Changes in Photosynthetic Capability and Carbohydrate Production in an Epiphytic CAM Orchid Plantlet Exposed to Super-elevated CO2. Environmental and Experimental Botany, 41: 219-230.

Huang L.C., Chang Y.H. & Chang Y.L. (1994). Rapid in vitro multiplication of the aquatic angiosperm, Anubias barteri var undulata. Aquatic Botany. 47(1): 77-83.

Li, C.R., Gan, L.J., Xia, K., Zhou, X. & Hew, C.S. (2002). Responses of carboxylating enzymes, sucrose metabolizing enzymes and plant hormones in a tropical epiphytic CAM orchid to CO2 enrichment. Plant Cell Environ. 25: 369-377.

Murashige, T. & Skoog, F. (1962). A revised medium for rapid growth and bioassays with tobacco tissue cultures, Physiol. Plant. 15: 473-497.

Rittirat, S., Thammasiri, K. & Klaocheed, S. (2021). In vitro rapid multiplication of a highly valuable ornamental aquatic plant anubias heterophylla. Trends in sciences. 18(19): 1-12.

เผยแพร่แล้ว

2023-04-03

How to Cite

Chidburee, A., พุทธวรชัย พ. ., สารินทร์ ศ., & ชิดบุรี เ. . (2023). ผลของคาร์บอนไดออกไซด์ต่อการเจริญและพัฒนาของเนื้อเยื่ออนูเบียสบาร์เทอรี ที่เพาะเลี้ยงในระบบไบโอรีแอคเตอร์จมชั่วคราวในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร, 1(1), 9–16. https://doi.org/10.55164/jtai.v1i1.157