การใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพจุลินทรีย์ร่วมกับชีวมวลในการผลิต กระเจี๊ยบเขียวตาม GAP ในดินเหนียว-ร่วนเหนียว จังหวัดสุพรรณบุรี

ผู้แต่ง

  • ทิพวรรณ แก้วหนู -
  • ศุภกาญจน์ ล้วนมณี
  • วนิดา โนบรรเทา
  • พีรพงษ์ เชาวนพงษ์
  • สุปรานี มั่นหมาย
  • นิศารัตน์ ทวีนุต
  • ศรีสุดา รื่นเจริญ
  • ปฏิมาภรณ์ จินจาคาม

DOI:

https://doi.org/10.55164/jtai.v2i1.773

คำสำคัญ:

กระเจี๊ยบเขียว, ผลิตภัณฑ์ชีวภาพจุลินทรีย์, ชีวมวล, การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี

บทคัดย่อ

การจัดการธาตุอาหารพืชมีความสำคัญต่อการผลิตกระเจี๊ยบเขียวในการด้านเจริญเติบโต ปริมาณและ คุณภาพ ผลผลิต โดยการใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพจุลินทรีย์ร่วมกับชีวมวลในการผลิตกระเจี๊ยบเขียวตาม GAP ในดินหนียว-ร่วนเหนียว จังหวัดสุพรรณบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการธาตุอาหารพืชสำหรับการผลิตกระเจี๊ยบเขียวตาม GAP ดำเนินการทดลองในแปลงเกษตรกร ตำบลสระยายโสม อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี การทดลองครั้งนี้ วางแผน การทดลองแบบบล็อกสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 4 ซ้ำ 7 กรรมวิธี ประกอบด้วย 1) กรรมวิธีควบคุม 2) ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 18-4-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่ 3) ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 18-4-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่+มูลวัวอัตรา 1 ตันต่อไร่ 4) ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 18-4-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่+มูลวัวอัตรา 1 ตันต่อไร่+จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตอัตรา 3 กรัมต่อต้น+อาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาอัตรา 3 กรัมต่อต้น 5) ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 13.5-3-4.5 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่+มูลวัวอัตรา 1 ตันต่อไร่ 6) ใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 13.5-3-4.5 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่+มูลวัวอัตรา 1 ตันต่อไร่+จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตอัตรา 3 กรัมต่อต้น+อาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาอัตรา 3 กรัมต่อต้น และ 7) ใส่มูลวัวอัตรา 1 ตันต่อไร่+จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตอัตรา 3 กรัมต่อต้น+อาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาอัตรา 3 กรัมต่อต้น ผลการทดลองพบว่า กรรมวิธีที่ 4 คือ การใส่ปุ๋ยเคมีอัตรา 18-4-6 กิโลกรัม N-P2O5-K2O ต่อไร่+มูลวัวอัตรา 1 ตันต่อไร่+จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟตอัตรา 3 กรัมต่อต้น+อาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซาอัตรา 3 กรัมต่อต้น ให้ค่าความสูงต้นกระเจี๊ยบเขียวที่อายุ 45 และ 60 วันสูงที่สุด เท่ากับ 54.98 และ 84.68 เซนติเมตร ตามลำดับ และให้น้ำหนักฝักกระเจี๊ยบเขียวทั้งหมดสูงที่สุดเท่ากับ 1,303 กิโลกรัมต่อไร่โดยมีกำไรสุทธิ 6,706.00 บาทต่อไร่

Author Biographies

ทิพวรรณ แก้วหนู, -

กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

ศุภกาญจน์ ล้วนมณี

กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

วนิดา โนบรรเทา

กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

พีรพงษ์ เชาวนพงษ์

กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

สุปรานี มั่นหมาย

กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

นิศารัตน์ ทวีนุต

กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

ศรีสุดา รื่นเจริญ

กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

ปฏิมาภรณ์ จินจาคาม

กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา กองวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กรุงเทพฯ 10900

References

กรมวิชาการเกษตร. (2567). Gap online: กระเจี๊ยบเขียว. https://gap.doa.go.th/.

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2551). คู่มือนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร: กระเจี๊ยบเขียว. http://www.agriman.doae.go.th/

home/t.n/t.n1/5vagetable_Requirement/03_Okra.pdf.

กลุ่มงานวิจัยจุลินทรีย์ดิน. (2564). ปุ๋ยชีวภาพ. กรุงเทพมหานคร. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

กลุ่มงานวิจัยเคมีดิน. (2544). คู่มือการวิเคราะห์ดินและพืช. กลุ่มงานวิจัยเคมีดิน กองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร.

โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด : กรุงเทพฯ.

กลุ่มวิจัยเกษตรเคมี. (2551). คู่มือวิธีวิเคราะห์ปุ๋ยอินทรีย์. กลุ่มวิจัยเกษตรเคมี สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิต

ทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ควิกปริ๊นท์ ออฟเซ็ท : กรุงเทพฯ.

คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. (2554). ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเ

กษตรศาตร์.

จักรพงษ์ เจิมศิริ. (2546). วิธีวิเคราะห์สมบัติทางกายภาพของดิน. กลุ่มวิจัยปฐพีวิทยา สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทาง

การเกษตร กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

ประกาศกรมวิชาการเกษตร. (2555). เรื่อง การขอขึ้นทะเบียน การออกใบสำคัญการขึ้นทะเบียน การขอแก้ไขรายการ

ทะเบียน และการแก้ไขรายการทะเบียนปุ๋ยอินทรีย์ พ.ศ. 2555. https://www.doa.go.th/ard/wp-content/

uploads/2019/11/FEDOA5.pdf.

ทิพวรรณ แก้วหนู ศุภกาญจน์ ล้วนมณี ศิริลักษณ์ แก้วสุรลิขิต วนิดา โนบรรเทา สมฤทัย ตันเจริญ ชัชธนพร เกื้อหนุน

นิศารัตน์ ทวีนุต ศรีสุดา รื่นเจริญ ศราริน กลิ่นโพธิ์กลับ แววตา พลกุล ปฏิมาภรณ์ จินจาคาม กมลชนก เจริญศรี

นุชนาฏ ตันวรรณ สายน้ำ อุดพ้วย ภิญญาลักษณ์ รัตนวิระกุล และ อนุรักษ์ ภู่ระหงษ์. (2567). การประเมินการ

ปลดปล่อยไนโตรเจนของปุ๋ยหมัก มูลไก่แกลบ มูลวัวนม และแหนแดงแห้ง. แก่นเกษตร. (52)(ฉบับเพิ่มเติม 1),

-400.

สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์. (2566). ตลาดส่งออกสำคัญของไทยรายสินค้า.https://tradereport.moc.go.th/Report/

Default.aspx?Report=MenucomTopNRecode&Option=3&Lang=Th&ImExType=1.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2566). กระเจี๊ยบเขียว: เนื้อที่เพาะปลูก เนื้อที่เก็บเกี่ยว ผลผลิต และผลผลิตต่อไร่ปี2565.

https://www.oae.go.th/assets/portals/1/fileups/prcaidata/files/green%20bean%20%E0%B8%9B%

E0%B8%B5%2065.pdf.

Agribot. (2004). Nutrient Management in Okra. https://agri.bot/docs/nutrient-management-in-okra/.

Pervaiz Z., Hussain K., Kazmi S.S.H. and Gill K.H. (2004). Agronomic efficiency of different N:P ratios in

rain fed wheat. International Journal of Agriculture & Biology 6(3): 455–457.

Premsekhar, M. and Rajashree, V. (2009). Influence of organic manure on growth, yield and quality of

okra. American Eurasian Journal of Sustainable Agriculture, 3(1): 6 – 8.

Walkley, A and Black. I. A. (1947). Chromic acid titration method for determination of soil organic

matter. Soil Sci. Amer. Proc, 63, 257.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-07-31

How to Cite

แก้วหนู ท. ., ล้วนมณี ศ., โนบรรเทา ว. ., เชาวนพงษ์ พ. ., มั่นหมาย ส. ., ทวีนุต น. ., รื่นเจริญ ศ. ., & จินจาคาม ป. . (2024). การใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพจุลินทรีย์ร่วมกับชีวมวลในการผลิต กระเจี๊ยบเขียวตาม GAP ในดินเหนียว-ร่วนเหนียว จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร, 2(1), 45–53. https://doi.org/10.55164/jtai.v2i1.773