การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ 3 มิติ ผ่านเมตาเวิร์ส กรณีศึกษาคลองแม่ข่า
DOI:
https://doi.org/10.57260/stc.2023.536คำสำคัญ:
จักรวารนฤมิตรคลองแม่ข่า , เทคโนโลยี, สื่อการสอนบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาเมตาเวิร์ส คลองแม่ข่า 2) ศึกษาความพึงพอใจจากการใช้งานเมตาเวิร์ส คลองแม่ข่า กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนปงพัฒนาวิทยาคม จำนวน 41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เมตาเวิร์ส คลองแม่ข่า 2) แบบประเมินความพึงพอใจจากการใช้งานเมตาเวิร์ส คลองแม่ข่า วิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งมีผลการวิจัยดังนี้ 1) เมตาเวิร์ส คลองแม่ข่าสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สามารถนำมาใช้เป็นสื่อประกอบการสอนรายวิชา วิทยาการคำนวณ 2) ผลการประมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ด้วยค่าเฉลี่ย 4.46 ใช้ร่วมกับการเรียนการสอนแบบระยะไกลหรือออน์ไลน์ได้เป็นอย่างดี และยังสามารถพัฒนาในรูปแบบต่างๆ เช่น ห้องเรียน ห้องประชุม สถานที่ท่องเที่ยวต่างๆที่ผู้ใช้ให้ความ
References
กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย. (2566). การสร้างจักรวาลนฤมิต Spatial Metaverse. สืบค้นจาก https://www.slideshare.net/kha00at/spatial-metaverse
ชญานิน อุประ, ประภาพร ต๊ะดง และ ศิริกรณ์ กันขัติ์. (2566). การพัฒนาสื่อการสอน แอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง แม่ฮ่องสอนเมืองสามหมอก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(1), 48-59. https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/497
ดุสิต ขาวเหลือง และ อภิชาติ อนุกูลเวช. (2561). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้สามมิติแบบมีปฏิสัมพันธ์เสมือนจริงโดยใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม Augmented Reality (AR) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดของนักศึกษาอาชีวศึกษาที่มีระดับการคิดอย่างมีวิจารณญาณต่างกัน. วารสารศึกษาศาสตร์, 30(3), 18-27. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edubuu/article/view/244286
ธิติรัตน์ สมบูรณ์. (2565). Metaverse อนาคตการศึกษาข้ามพรมแดนการเรียนรู้จากโลกจริงสู่โลกเสมือน. สืบค้นจาก https://www.chula.ac.th/highlight/64690/
ฤกธิไกร ไชยงาม. (2566). มาตรฐานวัดเจตคติแบบลิเคิร์ท (Likert rating scales). สืบค้นจากhttps://www.gotoknow.org/posts/659229
มานพ ศิริภิญโญกิจ. (2566). บทบาทของเทคโนโลยีการสร้างแบบจำลอง 3 มิติต่อกระบวนการสร้างสรรค์งานออกแบบยุคปัจจุบันในประเทศไทย. สืบค้นจาก https://www.researchgate.net/publication/325894470_bthbathkhxngthekhnoloyikarsrangbaebcalxng_3_mititxkrabwnkarsrangsrrkhnganxxkbaebyukhpaccubanniprathesthiy
วิกิพีเดีย. (2566). ประวัติความเป็นมาคลองแม่ข่า. สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน “วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน” ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2. เนื้อหาบทความที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ