การศึกษาองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของถั่วดาวอินคา

ผู้แต่ง

  • เจริญชัย บุตรสา นักวิชาการอิสระ
  • ณภัทร เกตุบุญสม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเสือโก้ก
  • รัฐพรรณ สันติอโนทัย ภาควิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • เกศชฎา โชติพูล วิทยาลัยการแพทย์บูรณาการ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • ธวัชชัย เหล็กดี กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

DOI:

https://doi.org/10.57260/stc.2023.642

คำสำคัญ:

ถั่วดาวอินคา, องค์ประกอบทางพฤกษเคมี , ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากส่วนใบเพสลาด ส่วนเมล็ด และส่วนเมล็ดที่สกัดน้ำมันออก (Defatted) สกัดด้วยวิธีการหมัก (Maceration) ในตัวทำละลายที่แตกต่างกัน 3 ชนิด (ไดคลอโรมีเทน เอทานอล และอะซิโตน) สารสกัดทั้งหมดนำมาวิเคราะห์องค์ประกอบทางพฤกษเคมีเบื้องต้น (แอลคาลอยด์ สเตรียรอยด์ แทนนิน และฟลาโวนอยด์) โดยอาศัยปฏิกิริยาการเกิดสีหรือตะกอนและศึกษาฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH radical scavenging การศึกษาพบว่า สารสกัดส่วนใบเพสลาดพบสารพฤกษเคมี 4 กลุ่ม คือ แอลคาลอยด์ สเตรียรอยด์ แทนนิน และฟลาโวนอยด์ สารสกัดส่วนเมล็ดและเมล็ดที่สกัดน้ำมันออก (Defatted) พบสารกลุ่มแอลคาลอยด์ และ สเตรียรอยด์เท่านั้น และการสกัดด้วย Ethanol ของใบเพสลาดมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ดีที่สุดในวิธี DPPH โดย (IC50 มีค่าเท่ากับ 59.71 µg/ml)

References

เกียรติชัย พงษ์พาณิชย์. (2556). คอลลัมน์มิติโลกาภิวัฒน์ไทยโพสต์. สืบค้นจาก http://www.globalizationthailand.go.th/thaipost/

โกสุม เศรษฐาวงศ์. (2558). การดูแลสุขภาพจิตและกายของตนเอง. สืบค้นจาก http://news.msu.ac.th/

นพมาศ สุนทรเจริญนนท์, อุทัย โสธนะพันธุ์ และ ประไพ วงศ์สินคงมั่น. (2551). ทีแอลซี: วิธีอย่างง่ายในการวิเคราะห์คุณภาพเครื่องยาไทย. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยมหิดลร่วมกับกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก.

บุหรัน พันธุ์สวรรค์. (2556). อนุมูลอิสระ สารต้านอนุมูลอิสระและการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 21(3), 275-286. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tstj/article/view/12696

รักชนก ภูวพัฒน์. (2559). การศึกษาการเปรียบเทียบความสามารถในการผลิตสารทุติยภูมิจากใบอ่อน ใบเพสลาดและใบแก่ของถั่วดาวอินคาเพื่อรองรับการผลิตใบชาเพื่อชุมชนของจังหวัดนราธิวาส. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 8(2), 125-133. https://li01.tci-thaijo.org/index.php/pnujr/article/view/56214

อุดมวิทย์ ไวทยการ กัญญรัตน์ และ จำปาทอง เถลิงศักดิ์ วีระวุฒิ. (2556) . ผลิใบก้าวใหม่การวิจัยและ พัฒนาการเกษตร กรมวิชาการเกษตร. สืบค้นจาก : http://www.doa.go.th/pibai/

Gonzalez-Aspajo, G., Belkhelfa, H., Haddioui-Hbabi, L., Bourdy, G., & Deharo, E. (2015). Sacha Inchi Oil (Plukenetia volubilis L.), effect on adherence of Staphylococus aureus to human skin explant and keratinocytes in vitro. J Ethnopharmacol, 171, 330-334. DOI: 10.1016/j.jep.2015.06.009

Hounsome, N., Hounsome, B., Tmos, D., & Edgard-Jones, G. (2008). Plant metabolites and Nutritional quality of vegetables. Journal of Food Science, 73(4), R48-R65. DOI: 10.1111/j.1750-3841.2008.00716.x

Moreau, R. A., Whitaker, B. D., Hicks, K. B. (2002). Phytosterols, phytostanols and their conjugates in foods: structural diversity, quantitative analysis, and healthpromoting uses. Progress in Lipid Research, 41(6), 475-500. DOI: 10.1016/s0163-7827(02)00006-1

Rosana Chirinos, Gledy Zuloeta, Romina Pedreschi, & Eric Mignolet, (2012). Sacha inchi (Plukenetia volubilis): A seed source of polyunsaturated fatty acid, tocopherols, phytosterols, phenolic compounds and antioxidant capacity. Journal of Food Chemistry HLSEVIER, 141, 1732-1739. DOI: 10.1016/j.foodchem.2013.04.078

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-11-03

How to Cite

บุตรสา เ., เกตุบุญสม ณ., สันติอโนทัย ร. ., โชติพูล เ. ., & เหล็กดี ธ. (2023). การศึกษาองค์ประกอบทางพฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของถั่วดาวอินคา. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(6), 1–13. https://doi.org/10.57260/stc.2023.642