การผลิตไวน์เพื่อสุขภาพที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากเปลือกกาแฟเชอรี่

ผู้แต่ง

  • พัทธนันท์ นาถพินิจ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประทศไทย
  • อัจฉรา ไชยองค์การ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประทศไทย

DOI:

https://doi.org/10.57260/stc.2024.750

คำสำคัญ:

ไวน์เพื่อสุขภาพ, เปลือกกาแฟเชอรี่, ฤทธิ์ด้านอนุมูลอิสระ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตไวน์สุขภาพที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากเปลือกกาแฟเชอรี่  ที่ระดับการผลิต 40 ลิตร ภายใน 7 วัน  มีการเพิ่มจำนวนเซลล์ยีสต์สำเร็จรูปที่อัตรา 40 กรัมต่อน้ำหมัก 6 ลิตร  ที่มีอัตราส่วนเปลือกกาแฟเชอรี่ที่ร้อยละ 1.7 โดยน้ำหนักต่อปริมาตร  ปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมด หรือความหวาน 20 บริกซ์ หมักในภาวะเติมอากาศ 1 วัน แล้วนำไปขยายผลการหมักที่ 40 ลิตร ที่มีอัตราส่วนเปลือกกาแฟเชอรี่ และปริมาณของแข็งที่ละลายได้ทั้งหมด หรือความหวานเดียวกัน หมักเติมอากาศ 1 วัน และไม่เติมอากาศ 5 วัน การศึกษาพบว่าไวน์เพื่อสุขภาพที่ได้มีแอลกอฮอล์ที่ร้อยละ 13 สารประกอบฟีนอลิก 436 ไมโครกรัมกรดแกลลิกต่อมิลลิลิตร   ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี DPPH radical scavenging 135 ไมโครกรัมแอสคอร์บิกต่อมิลลิลิตร และฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี FRAP 121 ไมโครกรัมเฟอรัสซัลเฟต ต่อมิลลิลิตร  และมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่ร้อยละ 34.53  ซึ่งเป็นผลดีต่อสุขภาพ  และมีต้นทุนในการผลิตเพียง 6 บาทต่อไวน์ 1 ลิตร

References

ชุติมณฑน์ พลอยประดับ, พุทธพร เจียมศุภกิตต์ และ นิรมล ปัญญ์บุศยกุล. (2553). ฤทธิ์การต้านออกซิเดชั่นของส่วนต่างๆ ของผลกาแฟอาราบิก้า และเปลือกกาแฟ. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 41(3/1), 577-580. สืบค้นจาก https://www.researchgate.net/profile/Niramol_Punbusayakul/publication/280824495

ณัฐพร จันทร์ฉาย และ ศันศนีย์ บุญเกิด. (2562). สภาวะที่เหมาะสมต่อความสามารถต้านอนุมูลอิสระของ Rhodotorula rubra MJU18. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 37(1), 69-77. สืบค้นจาก

https://li01.tci-thaijo.org/index.php/agritechjournal/article/view/179921

ธเนศวร นวลใย และ เบญจมาส ไชยลาภ. (2564). ปริมาณฟีนอลิกทั้หมดและฤทธิ์การต้านอนุมลูอิสระของส่วนแยกย่อยจากเปลือกลำต้นของกรวยป่า. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี), 13(26), 38-47. สืบค้นจาก https://ejournals.swu.ac.th/index.php/SWUJournal/article/view/14110

นฤมล บุญมี, นักรบ นาคประสม, ชนวัฒน์ นิทัศน์วิจิตร, พัฒนา เฟื่องฟู, จริยาพร สังข์ภิรมย์ และ กาญจนา นาคประสม. (2562). การหาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตกรดอะซีติกในระหว่างกระบวนการหมักน้ำส้มสายชูจากเนื้อผลกาแฟ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 27(6), 1038-1053. สืบค้นจาก https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tstj/article/view/205325

พัทธชัย ปิ่นนาค, ธัญญ์นรี จิณะไชย, สุพิชญา เกษร และ อาลิตา มาคูณ. (2563). ปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในเปลือกกาแฟเชอร์รี่และดอกกาแฟ ในระบบวนเกษตรของจังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์, 1(1), 61-70. สืบค้นจาก https://ajsas.uru.ac.th/files_complete/1592842455_7551.pdf

ไพโรจน์ วิริยจารี. (2550). การพัฒนากาแฟพันธุ์อาราบิก้าจากผลพลอยได้ของกระบวนการแปรรูปกาแฟระยะที่ 1: การผลิตเมล็ดกาแฟดิบด้วยเทคโนโลยีทางเอนไซม์. ภาควิชาเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สืบค้นจาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/scudru/issue/download/17337/4221

วรรณดี มหรรณพกุล, ขนิษฐา อินทร์ประสิทธิ์, ปิติ กาลธิยานันท์ และ ปัญจ์ยศ มงคลชาติ. (2555). การผลิตเครื่องดื่มไซเดอร์กล้วย. วารสารผลงานวิชาการ กรมวิทยาศาสตร์บริการ, 1(7), 142-157. สืบค้นจาก

https://ph03.tci-thaijo.org/index.php/BAS/article/view/190

วราวุฒิ ครูส่ง. (2538). จุลชีววิยาในกระบวนการแปรรูปอาหาร. กรุงเทพมหานคร. โอ เอส พริ้นติ้งเฮาส์.

สมหมาย ปัตตาลี. (2551). การศึกษาคุณภาพของน้ำหมักชีวภาพที่ผลิตจากผลมะหลอด. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

อรอง จันทร์ประสาทสุข. (2561). การคัดแยกจุลินทรีย์ออโตโคนัสที่เกี่ยวข้องกับการหมักน้ำสับปะรดคั้นสด เป็นกล้าเชื้อสำหรับการผลิตน้ำผลไม้น้ำตาลต่ำ. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. โครงการวิจัยประเภท งบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. มหาวิทยาลัยบูรพา. สืบค้นจาก https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3749

Atlantic. (2011). Antioxidants Explained: Why These Compounds Are So Important. Retrieved from https://www.theatlantic.com/health/archive/2011/10/antioxidants-explained-why-these-compounds-are-so-important/247311/

Fushimi, T., Suruga, K., Oshima, Y., Fukiharu, M., Tsukamoto, Y., & Goda, T. (2006). Dietary acetic acid reduces serum cholesterol and triacylglycerols in rats fed a cholesterol-rich diet. British J. Nutr., 95(5), 916-924. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/7169557

Hillkoff. (2021). COC #1 cider of coffee. Retrieved from https://hillkoff.org/coc-1-cider-of-coffee .

Johnston, C., Kim, C., & Buller, A. (2004). Vinegar improves insulin sensitivity to a high carbohydrate meal in subjects with insulin resistance or type 2 diabetes mellitus. Diabetes Care, 27(1), 281-282. Retrieved from https://doi.org/10.2337/diacare.27.1.281

Leeman, M., Ostman, E., & Bjorck, I. (2005). Vinegar dressing and cold storage of potatoes lowers postprandial glycemic and insulinemic responses in healthy subjects. Eur. J. Clin. Nutr., 59, 1266-1271. Retrieved from https://www.nature.com/articles/1602238

Ostman, E., Granfeldt., Y., Persson, L., & Bjorck, I. (2005). Vinegar supplementation lowers glucose and insulin responses and increases satiety after a bread meal in healthy subjects. Eur. J. Clin. Nutr., 59(9), 983-988. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/7729967

Panchal, C. J., & Tavares, F. C. A. (1990). Yeast strain selection for fuel ethanol production. In C.J. Panchal (ed.), New York: Marcel Dekker Inc.

Pekal A., & Pyrzynska K. (2004). Evaluation of aluminium complexation reaction for flavonoid content assay. Food analysis, 7, 1776-1782. Retrieved from https://link.springer.com/article/10.1007/s12161-014-9814-x

Thomas, J. B. (2012). A Comparative study of the Antioxidant activity (DPPH), Total flavonoid, Total Tannin, Total polyphenol levels in plant extracts of the Annona muricata, Ribes nigrum and Manilkara zapota. International Journal of Scientific and Research Publications, 6(9), 490-494. Retrieved from https://www.ijsrp.org/research-paper-0916.php?rp=P575810

Vine, P. R., Harkness, E. M., Browning, T., & Wagner, C. (1997). Wine making from grape growing to marketplace. New York, Chapman & Hall.

Yang, J., Chen, J. F., Zhao, Y. Y., & Mao, L. C. (2010). Effects of drying processes on the antioxidant properties in sweet potatoes. Agricultural Sciences in China, 9(10), 1522–1529. Retrieved from https://doi.org/10.1016/S1671-2927(09)60246-7

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-04-01

How to Cite

นาถพินิจ พ. ., & ไชยองค์การ อ. . (2024). การผลิตไวน์เพื่อสุขภาพที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากเปลือกกาแฟเชอรี่. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 2(2), 58–70. https://doi.org/10.57260/stc.2024.750