แอปพลิเคชันสื่อการสอนอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษและภาษาไทย

ผู้แต่ง

  • เกศสินี แซ่ม้า ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • วชิราภรณ์ คำมีจันทร์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • นมัสสร พวงมณี ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • ศิริกรณ์ กันขัติ์ ภาควิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่

DOI:

https://doi.org/10.57260/stc.2024.761

คำสำคัญ:

แอปพลิเคชัน, อักษรเบรลล์ , สื่อการสอน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันสื่อการสอนอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษและ    ภาษาไทย และ 2) เพื่อประเมินความพึงพอใจในการใช้งานแอปพลิเคชันสื่อการสอนอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษและภาษาไทยภาษาไทย สำหรับนักศึกษาสาขาการศึกษาพิเศษชั้นปีที่ 1  มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่               กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จำนวน 30 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างจากการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แอปพลิเคชันสื่อการสอนภาษาเบรลล์ภาษาอังกฤษและภาษาไทย 2) แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชันสื่อการสอนอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษและภาษาไทย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยสรุปดังนี้ 1) การพัฒนาแอปพลิเคชันมี 2 ภาษาให้ผู้ใช้เลือกศึกษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษและภาษาไทย ซึ่งแต่ละภาษาที่ผู้ใช้เลือกศึกษาจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้ ส่วนของบทเรียน และส่วนของแบบฝึกหัด 2) ผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชันสื่อการสอนอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษและภาษาไทย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้วยค่าเฉลี่ย 4.19 พบว่า ด้านความพึงพอใจในแอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้น อยู่ในระดับมาก ด้วยค่าเฉลี่ย 4.26 รองลงมาได้แก่ ด้านความพึงพอใจของผู้ใช้งาน ด้วยค่าเฉลี่ย 4.20  และด้านเนื้อหา ด้วยค่าเฉลี่ย 4.10 ตามลำดับ

References

จันทนา อิสระ. (2556). พัฒนาสื่อภาพนูน “สัตว์หิมพานต์” เพื่อผู้พิการทางสายตา. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 5(1), 170-182. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/214333

ชินวัจน์ วรรณากร. (2562). การพัฒนาแอปพลิเคชันสื่อการเรียนรู้บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ เรื่องภาษาอังกฤษสำหรับนักสารสนเทศ. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. สืบค้นจาก

http://wb.yru.ac.th/xmlui/handle/yru/5356

ทศพร โศภิษฐ์ธรรมกูล. (2565). การออกแบบฝึกหัดคำศัพท์ภาษาอังกฤษจากการสังเคราะห์รายงานวิจัยในชั้นเรียน. วารสารบรรณศาสตร์, 15(1), 1-2. สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JLIS_SWU/article/view/254019

ธีรอาภา บุญจันทร์, เสาวภา พรสิริพงษ์ และ ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์. (2555). การจำลองวัตถุทางพิพิธภัณฑ์สำหรับคนตาบอด. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 32(1), 107-114. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/sujthai/article/view/7128

ประกาศิต ตันติอลงการ. (2557). พัฒนาชุดอิเล็กทรอนิกส์เรียนรู้อักษรเบรลล์เบื้องต้น. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 24(2), 213-222. สืบค้นจาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/kmutnb-journal/article/view/21802

มูลนิธิธรรมิกชนเพื่อคนตาบอดในประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2661). ต้นกำเนิดอักษรเบรลล์ .สืบค้นจาก https://cfbt.or.th/sk/index.php/article/12-readbraille

โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต. (2565). การกำเนิดอักษรเบรลล์. สืบค้นจาก https://playingcard.or.th/th/การกำเนิดอักษรเบรลล์ภาษาไทย/

วีรชัย อำพรไพบูลย์. (2562). ระบบอักษรเบรลล์พื้นฐาน. วารสารวิชาการ, 2(3), 122-130. สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/human_dru/article/view/251284

วีรชัย อำพรไพบูลย์ และ วิโรจน์ อรุณมานะกูล. (2560). การวิเคราะห์ระบบตัวอักษรเบรลล์ไทย. วารสารศิลปศาสตร์ม, 17(2), 40-52. สืบค้นจาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/107078

สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน. (2560). ตัวแสดงผลอักษรเบรลล์. สืบค้นจาก https://www.slri.or.th/bl6a/

อนันต์ ตันวิไลศิริ และ พิชิต ขจรเดชะ. (2553). พัฒนาอุปกรณ์สร้างอักษรเบรลล์สำหรับการพิมพ์อักษรเบรลล์ลงบนฉลากยา โดยใช้เครื่องพิมพ์ 3 มิติ. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, 19(2), 123-135. สืบค้นจาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jit_journal/article/view/253934

Gotonkow. (2019). Likert-type attitude scale. Retrieved from https://www.gotoknow.org/posts/659229

GreedisGoods. (2019). Likert Scale. Retrieved from https://greedisgoods.com/likert-scale-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD/

Wikipedia. (2024). Braille. Retrieved from https://th.wikipedia.org/wiki

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-26

How to Cite

แซ่ม้า เ. ., คำมีจันทร์ ว. ., พวงมณี น. ., & กันขัติ์ ศ. . (2024). แอปพลิเคชันสื่อการสอนอักษรเบรลล์ภาษาอังกฤษและภาษาไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 2(4), 1–16. https://doi.org/10.57260/stc.2024.761