ผลของโปรแกรมการป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำในผู้ป่วยผ่าตัดคลอด ทางหน้าท้องที่ได้รับยาระงับความรู้สึกทางช่องไขสันหลัง โรงพยาบาลฝาง จังหวัดเชียงใหม่
DOI:
https://doi.org/10.57260/stc.2024.779คำสำคัญ:
ภาวะความดันโลหิตต่ำ, ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง, การให้ยาระงับความรู้สึกทางช่องไขสันหลังบทคัดย่อ
การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำในผู้ป่วยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่ได้รับยาระงับความรู้สึกทางช่องไขสันหลัง กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่ไดรับยาระงับความรู้สึกทางช่องไขสันหลัง ที่มารับบริการ ณ ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลฝาง จำนวน 60 ราย เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย โปรแกรมการป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำในผู้ป่วยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหลังได้รับยาระงับความรู้สึกทางช่องไขสันหลัง แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการรักษา และแบบประเมินผลลัพธ์ของโปรแกรมการป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และเปรียบเทียบอัตราการเกิดภาวะความดันโลหิตต่ำด้วยสถิติ Chi- square
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่วยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่ได้รับยาระงับความรู้สึกทางช่องไขสันหลัง มีอายุเฉลี่ย 27.02 ป (SD = 5.64) มีอายุครรภ์ 39 สัปดาห์ (SD = 0.85) พบอัตราการเกิดภาวะความดันโลหิตต่ำในกลุ่มควบคุมมากกว่ากลุ่มทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ร้อยละ 86.67 และ 50.00 ตามลำดับ; χ2=7.890, p = 0.005) ทั้งนี้โปรแกรมการป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำสามารถป้องกันการเกิดภาวะความดันโลหิตต่ำในผู้ป่วยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหลังได้รับยาระงับความรู้สึกทางช่องไขสันหลังได จึงควรนำโปรแกรมไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดคลอดและนำไปใช้ในผู้ป่วยผ่าตัดกลุ่มอื่นๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป
References
กลุ่มงานวิสัญญีวิทยา. (2566). แบบประเมินตนเอง กลุ่มงานวิสัญญีวิทยา. เชียงใหม่: ศูนย์พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลฝาง.
กิสตินา ยูนุสวังษา, ธิดา เอื้อกฤดาธิการ และ ศศิธร มหัทธนาภรณ์. (2550). ภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีและปัจจัยเสี่ยงในผู้ป่วยผ่าตัดคลอดที่ได้รับยาระงับความรู้สึกแบบฉีดยาชาเฉพาะส่วน. วิสัญญีสาร, 33(1), 26–35. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/anesthai/index
ขษีร์สิริ หงส์วิไล. (2556). ผลลัพธ์ของแบบแผนการเตรียมความพร้อมในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึก. (วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล) มหาวิทยาลัยคริสเตียน. นครปฐม. สืบค้นจาก http://library.christian.ac.th/thesis/document/T034393.pdf
ฉวี สุขสุมิตร และ สมทรง บุตรชีวัน. (2557). ผลของการใช้แนวทางปฏิบัติการป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำในผู้ป่วยผ่าตัดคลอดโดยการฉีดยาชาร่วมกับมอร์ฟีนเข้าช่องไขสันหลังต่อระดับความดันโลหิตของสตรีที่มารับการผ่าตัดคลอด โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 4(3), 234-245. สืบค้นจาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JPMAT/article/view/171148
ฐิตารีย์ อิงไธสง. (2564). ผลของการใช้โปรแกรมการเตรียมความพร้อมระงับความรู้สึกแบบฉีดยาชาเข้าช่องไขสันหลังต่อความรู้และพฤติกรรมการปฏิบัติตนของหญิงตั้งครรภ์ครรภ์แรกนัดผ่าคลอดที่ โรงพยาบาลหนองคาย. วารสารการพยาบาล สุขภาพ และการศึกษา, 4(2), 15-24. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/NHEJ/article/view/251385/172155
ตะวัน เขตปัญญา. (2560). ผลลัพธ์ของโปรแกรมเตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัดในระบบการผ่าตัดแบบช่องทางด่วนสำหรับผู้ป่วยมะเร็งเต้านมระยะก่อนผ่าตัดที่หน่วยบริการปฐมภูมิ. (วิทยานิพนธ์ พยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. มหาสารคาม.
ปริยชาต์ สธนเสาวภาคย์. (2554). ภาวะความดันเลือดต่ำภายหลังได้รับการฉีดยาชาเข้าช่องน้ำไขสันหลังของผู้ป่วยในโรงพยาบาล
พระจอมเกล้า. วิสัญญีสาร, 37(1), 18-26. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/anesthai
ปรานอม เรืองโชติเสถียร. (2556). การใช้แนวทางปฏิบัติทางคลินิกการป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำในผู้ป่วยผ่าตัดคลอดที่ได้รับการฉีดยาชาทางช่องไขสันหลังกลุ่มวิสัญญีโรงพยาบาลสุรินทร์. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์, 28(2), 81-91. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/MJSSBH/article/view/128579
ผ่องพิศ มุกดาสกุลภิบาล และ บุบผา ธรรมานุภาพ. (2562). ผลของโปรแกรมการป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำในผู้ป่วยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหลังให้ยาชาร่วมกับมอร์ฟีนทางช่องไขสันหลัง โรงพยาบาลวชิระภูเก็ต. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11, 33(1), 115-130. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Reg11MedJ/article/view/188362
เพชรศร ไชยมณี และ พงศ์พัฒน์ สัตโยภาส. (2557). แนวทางปฏิบัติทางคลินิกในการป้องกันภาวะความดันโลหิตต่ำจากการฉีดยาชาเฉพาะที่ทางช่องน้ำไขสันหลังเพื่อผ่าตัดคลอดโรงพยาบาลนครพิงค์.วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม, 11(2), 53-59. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/MKHJ
เพ็ญศรี จะนู. (2561). ผลการใช้สื่อวิดีทัศน์เพื่อเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดต่อระดับความรู้และความพึงพอใจในผู้ป่วยที่มารับบริการผ่าตัดแบบ ผู้ป่วยนอก ห้องผ่าตัดหู คอ จมูก โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ. วารสารโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ, 3(3), 47-65. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TUHJ/article/view/240296
พุฑฒิพรรณี วรกิจโภคาทร, ชมนาด ศุภจรรยารักษ์ และ ปราณี ลิ้มสิทธิศิริ. (2552). อุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงในการเกิดความดันเลือดต่ำหลังการฉีดยาชาเข้าช่องน้ำไขสันหลัง ในผู้ป่วยที่มารับการตัดต่อมลูกหมากโดยการส่องกล้องผ่านทางท่อปัสสาวะในโรงพยาบาลศิริราช. วิสัญญีสาร, 35(1), 58-64. https://he02.tci-thaijo.org/index.php/anesthai
ราชวิทยาลัยวิสัญญีแห่งประเทศไทย. (2562). ประกาศราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทยปี 2562 เรื่องแนวทางเวชปฏิบัติในการทำ Spinal anesthesia. กรุงเทพฯ: ราชวิทยาลัยวิสัญญีแพทย์แห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก https://www.rcat.org/_files/ugd/82246c_16805a0ebfb1452c948b08aa291e5e09.pdf
วรภา สุวรรณจินดา และ อังกาบ ปราการรัตน์. (2550). ตำราวิสัญญีวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น: กรุงเทพเวชการ.
สราวุฒิ สีถาน. (2560). ผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมก่อนผ่าตัดต่อการฟื้นตัวในผู้ป่วยผ่าตัดช่องท้อง. วารสาร มฉก. วิชาการ, 20(40), 101-113. สืบค้นจาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/HCUJOURNAL/article/view/149584
อนงค์ สายสุด. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะแทรกซ้อนจากการให้ยาระงับความรู้สึกทางช่องไขสันหลังในมารดาที่มาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง โรงพยาบาลฝาง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงรายเวชสาร, 10(1), 71-80. สืบค้นจาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/crmjournal/article/view/181733/128775
Alimian, M., Mohseni, M., Safaeian, R., Faiz, S.H., & Majedi, M. A. (2014). Comparison of hydroxyethyl starch 6% and crystalloids for preloading in elective caesarean section under spinal anesthesia. Medical Archives, 68(4), 279-281. Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4240562/
American society of anesthesiologists. (2014). ASA physical status classification system 2014. Retrieved from http://www.asahq.org/resources/clinical-information/asa-physical-status-classificationsystem
Bajwa, S. J., Kulshrestha, A., & Jindal, R. (2013). Co-loading or pre-loading for prevention of hypotension after spinal anaesthesia! a therapeutic dilemma. Anesth Essays Res, 7(2), 155-159. Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4173526/
Benevides, M. L., Andrade, B. B., Zambardino, H. D., & Benevides, M. A.. (2023). A Prospective Single-Center Brazilian Study Investigating the Efficacy and Safety of Prophylactic Phenylephrine Infusion for the Management of Hypotension During Cesarean Section Under Spinal Anesthesia. Cureus, 15(7), e42156. DOI: 10.7759/cureus.42156
Butterworth, J. F., Mackey, D. C., & Wasnick, J. D. (2013). Spinal, epidural & caudal blocks. In: Butterworth JF, Mackey DC, Wasnick JD, editors. Morgan & Mikhail’s Clinical Anesthesiology. (5th ed.). New York: McGraw-Hill, 936-958.
Chanchayanon, T., & Lim, A. (1999). Prevention of hypotension during spinal anesthesia for caesarean section : colloid versus crystalloid as preloading fluids. Songkla Med J, 17, 7-13. DOI: 10.1097/MD.0000000000024607
Chinachoti, T., & Tritrakarn, T. (2007). Prospective study of hypotension and bradycardia during spinal Anesthesia with bupivacaine incidence and risk factors part 2. J Med Assoc Thai, 90(3), 492-501. Retrieved from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17427526/
Chris, A. (2009). Spinal anaesthesia-a practical guide updatein anaesthesia. Retrieved from http://update.anaesthesiologists.org/wp-content/uploads/2009/10/Spinal-Anaesthesia-a-Practical-Guide.pdf.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing. (5th ed.). New York : Harper Collins Publishers.
Gunusen, I., Karaman, S., Ertugrul, V., & Firat, V. (2010). Effects of fluid preload (crystalloid or colloid) compared with crystalloid co-load plus ephedrine infusion on hypotension and neonatal outcome during spinal anaesthesia for caesarean delivery. Anaesth Intensive Care, 38(4), 647. DOI: 10.1177/0310057X1003800337
Hasan, A. B. (2012). Comparison of three fluid regimens for preloading in elective caesarean Section under spinal anaesthesia. Mymensingh Med J, 21(3), 533-540. Retrieved from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/22828556/
Higuchi, H., Adachi, Y., & Kazama, T. (2005). The influence of lumbosacral cerebrospinal fluid volume on extent and duration of hyperbaric bupivacaine spinal anesthesia: A comparison between seated and lateral decubitus injection positions. Anesth Analg, 101(2), 555-560. DOI: 10.1213/01.ANE.0000158465.17547.F1
Higuchi, H., Takagi, S., Zhang, K., Furui, I., & Ozaki, M. (2015). Effect of lateral tilt angle on the volume of the abdominal aorta and inferior vena cava in pregnant and nonpregnant women determined by magnetic resonance imaging. Anesthesiology, 122(2), 286-293. DOI: 10.1097/ALN.0000000000000553
Kinsella, S. M., & Harvey, N. L. (2012). A comparison of the pelvic angle applied using lateral table tilt or a pelvic wedge at elective caesarean section. Anaesthesia, 67(12), 327-1331. Retrieved from https://doi.org/10.1111/j.1365-2044.2012.07332.x
Li, L., Zhang, Y., Tan, Y., & Xu, S. (2013). Colloid or crystalloid solution on maternal and neonatal hemodynamics for cesarean section: A meta analysis of randomized controlled trials. J Obstet Gynaecol, 39(5), 932-941. Retrieved from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/books/NBK159691/
Melchor, J. R., Hurtado, A. E., Frances, R. C., Perez, R. N., Gurumeta, A. A., & Vecino, J. M. (2015). Colloids versus crystalloids in the prevention of hypotension induced by spinal anesthesia in elective cesarean section. A systematic review and meta-analysis. Minerva Anestesiol, 81(9), 1019-1030. Retrieved from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/25501602/
Mercier, F.J. (2011). Fluid loading for cesarean delivery under spinal anesthesia: have we studied all the options?. Anesth Analg, 113(4), 677-680. DOI: 10.1213/ANE.0b013e3182245af4
Mercier, F. J. (2012). Cesarean delivery fluid management. Curr Opin Anaesthesiol, 25(3), 286-291. DOI: 10.1097/ACO.0b013e3283530dab
Nahed, F. K. (2010). Preventive measures to reduce post-spinal anesthesia hypotension for elective cesarean delivery. AJS, 7(2), 634-640. Retrieved from https://www.jofamericanscience.org /journals/am-sci/am0702/68_4835am0702_634_640.pdf
Oh, A. Y., Hwang, J. W., Song, I. A., Kin, M. H., Ryu, J. H., Park, H. P., Jeon, Y. T., & Do, S. H. (2014). Influence of the timing of administration of crystalloid on maternal hypotension during spinal anesthesia for cesarean delivery: preload versus coload. BMC Anesthesiol, 14(1), 36. Retrieved from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/24920942/
Poojinya, T., Jongstapongpun, P., & Meekaew, N. (2023). Comparing Ondansetron and Placebo for Reduction of Spinal Anesthesia-Induced Hypotension: a Double-Blind Randomized Control Trial. Thai J Anesthesiol, 49(5), 305-310. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/anesthai/article/view/264829/180540
Shahriari, A., Khooshideh, M., & Heidary, M. (2014). Prevention of Hypotension During Spinal Anesthesia for Caesarean Section: Preload with Crystalloids or Hydroxyethyl Starch. Med Hypothesis Discovery Innovention Interdisciplinary, 1(1). 1-20. https://www.semanticscholar.org/paper/Prevention-of-Hypotension-During-Spinal-Anesthesia-Shahriari-Khooshideh/397a240652437c1588809909b5355016b22e6ade
Somboonviboon, W., Kyokong, O., Charuluxananan, S., & Narasethakamol, A. (2008). Incidence and risk factors of hypotension and bradycardia after spinal anesthesia for cesarean section. J Med Assoc Thai, 91(2), 181-187. Retrieved from https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/18389982
Xu, S., Wu, H., Zhao, Q., Shen, X., Guo, X., & Wang. F. (2012). The median effective volume of crystalloid in preventing hypotension in patients undergoing cesarean delivery with spinal anesthesia. Rev Bras Anestesiol, 62(3), 312-24. DOI: 10.1016/S0034-7094(12)70132-0
Yu, C., Gu, J., Liao, Z., & Feng, S. (2021). Prediction of spinal anesthesia-induced hypotension during elective cesarean section: a systematic review of prospective observational studies. Int J Obstet Anesth, 47, 103-175. DOI: 10.1016/j.ijoa.2021.103175
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน “วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน” ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2. เนื้อหาบทความที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ