การประดิษฐ์และศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของหุ่นยนต์บริการ ที่ควบคุมด้วยระบบไร้สาย

ผู้แต่ง

  • รังสรรค์ บุญคำ โรงเรียนหนองม่วงวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี
  • มณฑิตา เชือกศรีคราม โรงเรียนหนองม่วงวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี
  • วริศรา แก้วสาคร โรงเรียนหนองม่วงวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี
  • ปูริดา สุขรื่น โรงเรียนหนองม่วงวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี
  • ดารัตน์ บัวเชย โรงเรียนหนองม่วงวิทยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาลพบุรี

DOI:

https://doi.org/10.57260/stc.2023.621

คำสำคัญ:

การประดิษฐ์ , ศึกษาประสิทธิภาพ , หุ่นยนต์บริการ, ระบบไร้สาย

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประดิษฐ์และศึกษาประสิทธิภาพของหุ่นยนต์บริการ  ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า หุ่นยนต์บริการที่สามารถเดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยวซ้ายเลี้ยวขวา ปัดขยะได้อัตโนมัติแบบหน้าหลัง           ส่งสัญญาณควบคุมทำงานแบบไร้สายด้วย wifi จากไอแพดหรือโทรศัพท์ไปยังตัวเครื่องได้ระยะทางไม่ต่ำกว่า 50 เมตร  เมื่อนำไปทดลองหาจำนวนรอบของเฟืองปัดพบว่า สามารถวิ่งได้บนพื้นคอนกรีตจำนวนรอบ 93.44 และพื้นหญ้าจำนวนรอบ 89.89 ไต่พื้นเอียงทำมุมได้มากที่สุด 8 องศา สามารถเคลื่อนที่ที่มีความสูงประมาณ  3 เซนติเมตร ความพึงพอใจของผู้ใช้งาน มีความพึงพอใจระดับมากที่สุด งานวิจัยนี้สามารถประดิษฐ์และพัฒนาหุ่นยนต์บริการที่มีประสิทธิภาพช่วยผ่อนแรงทำให้สะดวกสบายมากขึ้น

References

กันยาลักษณ์ โพธิ์ดง, ต่อลาภ ไทยเขียว, วิโรจน์ ยอดสวัสดิ์, วชิรา ปูชตรีรัตน์ และ ยุพิน พวกยะ. (2564). หุ่นยนต์จ่ายยาอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 31(1), 130-143. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/kmutnb-journal/article/view/243913

ปราณี อัศวภูษิตกุล. (2560). หุ่นยนต์กับห้องสมุด. วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 10(1), 100-111. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/tla_research/article/view/92399

มงคล ศิริสวัสดิ์. (2553). การพัฒนาหุ่นยนต์ช่วยสอนประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ต่ำ. Creative Science, 2(3), 93–108. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/snru_journal/article/view/10171

รัชนี ชอบศิลป์ และ จุฑามาศ ทวีไพบูลย์วงษ์. (2564). การรับรู้ความง่าย การรับรู้ประโยชน์ทัศนคติและการยอมรับในการทำงานร่วมกับ หุ่นยนต์ของพนักงานในบริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่ง ในเขตนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดชลบุรี. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 10(1), 36-50. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jms_ubu/article/view/238511

ภาพวิว ทะบรรหาร, กษิดิศ ธรรมวานิช, พรพรหม ลิขิตพงศธร, ภานุวัฒน์ ครุฑจันทร์, วิศรุต อ้นทอง, ชลธิชา เหล็กกล้า, ชารินทร์ ลาฤทธิ์ และ นพนิรันดร์ น้ำจันทร์. (2023). การพัฒนาเครื่องชาร์จแบตเตอรี่โทรศัพท์มือถือแบบหยอดเหรียญพลังงานแสงอาทิตย์. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(1), 35–47. https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/507

วรวุฒิ ตั้งนรกุล, สุธีร์ ก่อบุญขวัญ, สิทธิพงษ์ จีนหมั้น, จิรพล บุญยัง และ มณฑป ไชยบัณฑิต. (2565) . หุ่นยนต์ขนส่ง อาหาร ยา และเวชภัณฑ์ ควบคุมผ่านสมาร์ตโฟน. วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 1, 7(1), 142- 151. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/csnp_veis1/article/view/248569/168704

วิลาสินี ศรีวะสุทธิ, ชยาภรณ์ เครืออินทร์, ภาคภูมิ ฤาชา, เสาวภา ใจสม, นฤมล บุญญาอารักษ์ และ คัชรินทร์ มหาวงศ์. (2023). การประดิษฐ์และพัฒนาซีดีไบร์ท ไล่แมลงวัน . วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(3), 39–53. https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/506

Kernaghan, K. (2014). The Responsible Public Servant. 2nd ed. Canada: Institute of Public Administration of Canada.

Likert, R. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. Attitude Theory and. Measurement. Fishbeic, Martin, New York: Wiley & Son.

Wu, Q., Liu, Y., & Wu, C. (2017). An overview of current situations of robot industry development. in ITM Web of Conferences.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-08-30

How to Cite

บุญคำ ร., เชือกศรีคราม ม. ., แก้วสาคร ว., สุขรื่น ป. ., & บัวเชย ด. . (2023). การประดิษฐ์และศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของหุ่นยนต์บริการ ที่ควบคุมด้วยระบบไร้สาย . วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(4), 59–71. https://doi.org/10.57260/stc.2023.621