อิทธิพลของแสงสีจากหลอดไฟแอลอีดีที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดหอม พันธุ์แกรนด์แรปิดส์

ผู้แต่ง

  • ชมดาว ขำจริง สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • อรุณี พลายแก้ว สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • สมภพ วีสม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

คำสำคัญ:

แอลอีดี, เจริญเติบโต, ผักกาดหอมพันธุ์แกรนด์แรปิดส์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของสีจากหลอดไฟแอลอีดีที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดหอมพันธุ์แกรนด์แรปิดส์ วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ จำนวน 3 ซ้ำ ประกอบด้วย 5 ทรีทเมนต์ คือ 1) หลอดฟลูออเรสเซนต์ 2) หลอดแอลอีดีสีแดง 3) หลอดแอลอีดีสีขาว 4) หลอดแอลอีดีสีน้ำเงิน และ 5) หลอดแอลอีดีสีเขียว ความเข้มแสงที่ได้รับ 4,900 ลักซ์ โดยทำการให้แสง 12 ชั่วโมงต่อวัน ดำเนินการวิจัย ณ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี ผลการศึกษาพบว่าผักกาดหอมพันธุ์แกรนด์แรปิดส์ที่ได้รับแสงจากหลอดไฟแอลอีดีสีขาวให้ผลดีที่สุด โดยมีการเจริญเติบโตทางด้านจำนวนใบ (3.91 ใบ) ความสูง (13.79 เซนติเมตร) ค่าความเขียวใบ (13.19 SPAD UNIT) เส้นผ่านศูนย์กลางทรงพุ่ม (12.12 เซนติเมตร) และน้ำหนักผลผลิต (1.79 กรัม) มากที่สุด

References

กองบรรณาธิการ. 2559. นวัตกรรมปลูกพืชผักในร่มด้วยแสงจากหลอด LED. เกษตรกรรมธรรมชาติ 19(4): 25-28.

จิดาภา พักตร์จันทร์ และทิฆัมพร โซะเฮง. 2560. การศึกษาอัตราส่วนการผสมสีของหลอด LED เพื่อเสริมในเวลากลางคืนที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของกล้าพืชผัก. วิทยานิพนธ์ปริญญาตรี. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพฯ. 120 หน้า.

จูนลิฏา โยธาทิพย์, พาสินี สุนากร และพัชรียา บุญกอแก้ว. 2553. การศึกษาการปลูกพืชภายในอาคารโดยใช้แสงประดิษฐ์. หน้า 2007–2014. ใน: รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.

ชานนท์ ลาภจิตร. 2560. ผลของหลอดไฟแอลอีดีสีขาว แดง และน้ำเงิน ต่อการเจริญเติบโตของผักบุ้งจีนที่ปลูกในระบบอะควาโพนิค. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 4: 26-32.

ฐานข้อมูลพืชผัก บทความเกษตร. 2551. ผักกาดหอม ผักสลัด. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: https://vegetweb.com/% E0%B8%9C%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0 %B8%A D%E0%B8%A1-2/ (8 สิงหาคม 2565).

ณัฐภูมิ สุดแก้ว. 2559. ศักยภาพแสงประดิษฐ์สำหรับปลูกพืชในอาคาร. เกษตรกรรมธรรมชาติ 19(4): 45-53.

เทอดชัย นบธีราสุภาพ. 2550. หลอดฟลูออเรสเซนต์ (FLUORESCENT LAMP). (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล:

https://www.dss.go.th/images/st-article/pep_3_2550_Flores.pdf. (19 กันยายน 2565).

นภัทร วัจนเทพินทร์ และไชยยันต์ บุญมี. 2560. ไดโอดเปล่งแสงสีอะไรเหมาะสมกับการปลูกพืช ?. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 25(1): 158-176.

นวัตกรรม. 2561. นวัตกรรมการปลูกพืชผักในที่ร่มด้วยแสงจากหลอด LED. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: https://vegetweb.com/%E0%B8%9C%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%AB%E0%B8%A D%E0%B8%A1-2/ (14 กันยายน 2565).

พิชญ์สินี เพชรไทย และธรรมศักดิ์ ทองเกตุ. 2560. ผลของความเข้มแสงและระยะเวลารับแสงต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของผักกาดหอม. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 4(3): 54-59.

ภวรัญชน์ สมศักดิ์. 2560. ผลของแสงสีจากหลอดแอลอีดีต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพด ถั่วลันเตา แหนแดง และผำ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 137 หน้า.

สุทธิดา มณีเมือง, เนตรนภา อินสลุด, นิติ คำเมืองลือ, ประดิษฐ์ เทิดทูล และพฤทธ์ สกุลช่างสัจจะทัย. 2558. ผลของความเข้มแสงจากชุดหลอดแอลอีดีสำหรับการเพาะปลูกที่มีต่อผักสลัดเรดโอ๊ดในระบบไฮโดรโปนิกส์. วารสารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 8(1): 63-72.

อภิชาติ ชิดบุรี อนนท์ นำอิน กริช แสนสุภา และธีรวัฒน์ กลายเพศ. 2557. ผลของหลอดไดโอดเปล่งแสงร่วมกันสีน้ำเงิน/สีแดง/สีขาวที่มีต่อการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อยูคาลิปตัสในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารแก่นเกษตร 42 ฉบับพิเศษ 3: 409-414.

Ebisawa, M., K. Shoji, M. Kato, K. Shimomura, F. Goto and T. Yoshihara. 2 0 0 8. Supplementary ultraviolet radiation B together with blue light at night increased quercetin content and flavonol synthase gene expression in leaf lettuce (Lactuca sativa L.). Environmental Control in Biology 46(1): 1-11.

Goins, G.D., N.C. Yorio, M.M. Sanwoo and C.S. Brown. 1997. Photomorphogenesis, photosynthesis, and seed yield of wheat plants grown under red light-emitting diodes (LEDs) with and without supplemental blue lighting. Journal of Experimental Botany 48: 1407- 1413.

Tanaka, M., T. Takamura, H. Watanabe, M. Endo, T. Yanagi and K. Okamoto. 1998. In vitro growth of Cymbidium plantlets cultured under super bright red and blue light-emitting diodes (LEDs). Journal of Horticultural Science and Biotechnology 73: 39–44.

Thai PBS. 2558. โตเกียว...ทำนาในตึก: ดูให้รู้ Dohiru. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: https://www.youtube.com/watch?v=3rCzEGh0Uxk (10 กันยายน 2565).

Tibbitts, T.W., D.C. Morgan and J.J. Warrington. 1983. Growth of lettuce, spinach, mustard and wheat plants under four combinations of high-pressure sodium, metal halide and tungsten halogen lamps at equal PPFD. Journal of the American Society for Horticultural Science 108: 622–630.

Wojciechowska, R., O. Dtugosz-Grochowska, A. Kotton and M. Zupnik. 2015. Effects of LED supplemental lighting on yield and some quality parameters of lamb’s lettuce grown in two winter cycles. Scientia Horticulturae 187: 80-86.

Zhang, S.X., D.D. Huang, X.Y. Yi, S. Zhang, R. Yao, C.G. Li, A. Liang and X.P. Zhang. 2016. Rice yield corresponding to the seedling growth under supplemental green light in mixed light-emitting diodes. Plant, Soil and Environment 62: 222-229.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-05-06

ฉบับ

บท

บทความวิจัย บทความวิชาการ