ผลของการจัดการดินร่วมกับการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้งต่อสมบัติบางประการของดินและผลผลิตของข้าวปทุมธานี 1

ผู้แต่ง

  • สุกัญญา กำมา ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • Yutaka Suzuki ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • ทิวา พาโคกทม ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • นงภัทร ไชยชนะ ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

คำสำคัญ:

สมบัติบางประการของดิน, การจัดการดิน, การจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้ง, ผลผลิตข้าว

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติบางประการของดินและเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวพันธุ์ปทุมธานี 1 ภายใต้การจัดการดินที่แตกต่างกันร่วมกับการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้ง (AWD) วางแผนการทดลองแบบ RCBD จำนวน 4 ซ้ำ 3 ตำรับการทดลอง พบว่าตำรับทดลองที่ใส่ปุ๋ยคอก (MN) และฟางข้าว (RS) พร้อมกับการเตรียมดิน ใส่ปุ๋ยเคมีครึ่งอัตรา (half chem) และเต็มอัตรา (full chem) ร่วมกับการจัดการน้ำแบบ AWD (AWD+MN+half RS and chem และ AWD+MN+full RS and chem) ส่งผลให้ความหนาแน่นรวมของดินลดลงเมื่อเทียบกับก่อนปลูก ส่วนค่าพีเอชของดินและปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์มีค่ามากกว่าในดินก่อนปลูกและมากกว่าการจัดการน้ำแบบท่วมขังตลอดและใส่ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว (CF+chem) ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ในดินหลังปลูกทั้ง 3 ตำรับการทดลองมีค่าน้อยกว่าดินก่อนปลูก ข้าวที่ปลูกภายใต้การจัดการแบบ CF+chem มีความสูง จำนวนหน่อต่อกอ และค่าความเขียวใบมากกว่าการจัดการแบบ AWD+MN+half RS and chem และ AWD+MN+full RS and chem แต่ปริมาณผลผลิตข้าวที่ได้จากการจัดการแบบ AWD+MN+full RS and chem สูงที่สุด รองลงมา AWD+MN+half RS and chem และ CF+chem มีค่าเท่ากับ 863.4 798.9 และ 527.6 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ดังนั้นการจัดการแบบ AWD+MN+full RS and chem เหมาะสมต่อการผลิตข้าวปทุมธานี 1 มากที่สุด

References

กรมการข้าว. 2562. กรมการข้าวและชาวนารับมือฝนทิ้งช่วงทำนาแบบเปียกสลับแห้ง. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://webold.ricethailand.go.th/web/index.php/mactivities/6292-2019-07-08-14-27-58 (20 พฤศจิกายน 2564).

กรมการค้าต่างประเทศ. 2563. การส่งออกข้าวไทย. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: https://www.dft.go.th/th-th/NewsList/News-DFT/Description-News-DFT/ArticleId/17393/17393 (1 พฤศจิกายน 2565).

กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2548. ดินเพื่อประชาชน. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://e-library.ldd.go.th/library/Ebook/bib481.pdf (4 กันยายน 2565).

กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ม.ป.ป. ไถกลบตอซังสร้างดินยั่งยืนฟื้นสิ่งแวดล้อม. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: https://www.ldd.go.th/WEB_Bio/PDF/Plow.pdf (10 ธันวาคม 2564).

กัณฑสิณี แจ้งปุย. 2560. ผลของการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้งต่อการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของข้าวนาปรัง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก. 107 หน้า.

กิตติยาภรณ์ รองเมือง, วีรชัย อาจหาญ, พรรษา ลิบลับ และทิพย์สุภินทร์ หินซุย. 2559. การประเมินการปลดปล่อยมลพิษจากการเผาไหม้ฟางข้าวในที่โล่งแจ้ง. น. 31-41. ใน: การประชุมวิชาการวิศวกรรมฟาร์มและเทคโนโลยีการควบคุมอัตโนมัติระดับชาติ ครั้งที่ 3. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

คณาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา. 2548. ปฐพีวิทยาเบื้องต้น. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 547 หน้า.

เครือมาศ สมัครการ. 2554. แนวโน้การสะสมคาร์บอนในดินที่ใช้ปลูกข้าวจากการใส่ฟางข้าวและฟางข้าวเผา. Veridian E-Journal Silpakorn University (กลุ่มวิทยาศาสตร์) 4(1): 931-941.

จำเนียร มีสำลี, นันทินา ดำรงวัฒนากูล และจักรชัยวัฒน์ กาวีวงศ์. 2564. ผลของปุ๋ยไนโตรเจนต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวพันธุ์ กข 6 ภายใต้วิธีการปลูกแบบปักดำและหว่าน. วารสารแก่นเกษตร 49(4): 830-841.

ไชยวัฒน์ สมสอางค์ และอุ่นเรือน เล็กน้อย. 2563. ปัจจัยที่มีผลต่อการเป็นเกษตรปราดเปรื่องของชาวนาในจังหวัดสระแก้ว. วารสารการเกษตรราชภัฏ 19(1): 28-35.

ณัฐพล บัวจันทร์ และเครือมาศ สมัครการ. 2556. อิทธิพลของการจัดการดินต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1. Veridian E-Journal Silpakorn University (กลุ่มวิทยาศาสตร์) 6(3): 924-934.

ณิญา ปันดอนไฟ, ศักดิ์ดา จงแก้ววัฒนา และอรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง. 2556. การประเมินไนโตรเจนในใบยอดข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 โดยการวิเคราะห์ภาพถ่ายสีด้วยกล้องดิจิตอลเปรียบเทียบกับการใช้คลอโรฟิลล์มิเตอร์ (SPAD-502). น. 570-576. ใน: ประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 14. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

ดวงนภา วานิชสรรพ์ และบัญชา ขวัญยืน. 2557. การพัฒนาการบริหารจัดการน้ำในนาข้าวเพื่อลดการปลดปล่อยก๊าซมีเทน. วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา 25(1): 59-69.

ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และจงรักษ์ จันทร์เจริญสุข. 2542. แบบฝึกหัดและคู่มือปฏิบัติการวิเคราะห์ดินและพืช. ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 108 น.

ทิพยากร ลิ่มทอง และฉวีวรรณ เหลืองวุฒิวิโรจน์. 2541. การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำระบบการจัดเก็บข้อมูลด้านวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและอุตสาหกรรมทางการเกษตรของประเทศไทย. กองอนุรักษ์ดินและน้ำ กรมพัฒนาที่ดิน, กรุงเทพมหานคร. 131 หน้า.

ธานี ศรีวงษ์ชัย และสราวุธ รุ่งเมฆารัตน์. 2559. การปลูกข้าว. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: https://ebook.lib.ku.ac.th/ebook27/ebook/20160045/ (19 สิงหาคม 2565).

นิโรจน์ สินณรงค์. 2560. เศรษฐศาสตร์กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: จากแนวคิด เครื่องมือการวิเคราะห์สู่นโยบายสาธารณะด้านการเกษตร. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย 37(3): 143-161.

บุญดิษฐ์ วรินทร์รักษ์ และยงยุทธ โอสถสภา. 2558. ประวัติการปลูกข้าวและข้าวกับสภาพแวดล้อม. น. 28-60. ใน:

ยงยุทธ โอสถสภา (บก.). ดิน ธาตุอาหารและปุ๋ยข้าว. สมาคมดินและปุ๋ย, กรุงเทพมหานคร.

ปรัชญา ธัญญาดี, ประชา นาคะประเวศ, ปรีดี ดีรักษา, พิทยากร ลิ่มทอง และแววตา วาสนานุกูล. 2534. ผลของการไถกลบตอซังข้าวเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดินนา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ. กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพมหานคร. 21 หน้า.

พนิดา พุทธรัตน์รักษา และอุ่นเรือน เล็กน้อย. 2564. ผลกระทบและการยอมรับการทำนาแบบเปียกสลับแห้งเพื่อการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของชาวนา อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารมหาจุฬานา-ครทรรศน์ 8(1): 134-144.

พรชัย หาระโคตร และอรุน ทองอุ่น. 2559. ผลของการจัดการน้ำและระยะปลูกต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวพันธุ์ไรซ์เบอร์รี่ภายใต้ระบบการผลิตแบบปประณีต (SRI). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 24(6) (พิเศษ): 986-997.

พัชรี แสนจันทร์, มัจฉา แก้วพิลา, นิภา ธรรมโสม, พฤกษา หล้าวงษา และดวงสมร ตุลาพิทักษ์. 2557. ผลของฟางข้าวต่อสภาพรีดักชั่นในดินนาและปริมาณการปล่อยก๊าซมีเทน (การทดลองในกระถางปลูกข้าว). วารสารแก่นเกษตร42(1): 235-240.

ไพบูลย์ วิวัฒน์วงศ์วนา. 2546. เคมีดิน. ห้างหุ้นส่วนจำกัดเชียงใหม่พิมพ์สวย, เชียงใหม่.

มณีรัตน์ ม่วงศรี, จงรักษ์ จันทร์เจริญสุข และเอ็จ สโรบล. 2551. ผลการใส่ฟางข้าวและแกลบร่วมกับการใส่ปุ๋ยไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมต่อผลผลิตของข้าวที่ปลูกในชุดดินพิมาย, น. 82-89. ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาพืช ครั้งที่ 46. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.

มัจฉา แก้วพิลา, นิภา รรมโสม, พฤกษา หล้าวงษา และพัชรี แสนจันทร์. 2556. ผลของฟางข้าวต่อผลผลิตข้าว คุณสมบัติความเป็นกรดด่าง การนำไฟฟ้า และความหนาแน่นรวมของดินนา. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น 13(2): 1-8.

ยงยุทธ โอสถสภา. 2552. ธาตุอาหารพืช. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 529 หน้า.

วัลภา ชัยมาต. 2561. การไถกลบตอซังเพื่อลดต้นทุนการผลผลิตข้าว ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://e-library.ldd.go.th/library/flip/bib10227f/bib10227f.html (20 มกราคม 2565).

เวธนี วัฒนเดชเสรี. 2561. ผลของการจัดการอุตสาหกรรมซีเมนต์ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวปทุมธานี 1 ภายใต้ระดับการให้น้ำที่แตกต่างกัน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพมหานคร. 93 หน้า.

ศศิวิมล ภู่พวง, โรจน์ สินณรงค์, กฤตวิทย์ อัจฉริยพาณิชย์กุล และขนิษฐา เสถียรพีระกุล. 2562. ผลกระทบของสภาพภูมิอากาศที่มีผลต่อการผลิตข้าวในเขตภาคเหนือ. บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 9(2): 119-132.

สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร. 2548. ปุ๋ยอินทรีย์ การผลิต การใช้ มาตรฐานและคุณภาพ. กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพมหานคร. 82 หน้า.

สิริพร พูลเต็ม, สุมิตตา แสนจำหน่าย, คะนึงนิจ เจียวพ่วง, นงภัทร ไชยชนะ และทิวา พาโคกทม. 2560. ผลของอัตราและชนิดปุ๋ยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวจาปอนิกา. วารสารแก่นเกษตร 45(1) (พิเศษ): 176-181.

โสฬส แซ่ลิ้ม. 2559. ปุ๋ยอินทรีย์และการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://e-library.ldd.go.th/library/flip/bib9827f/bib9827f.html (17 ตุลาคม 2565).

อนินท์ จิรพัทธ์พงศกร, วลีรัตน์ สุพรรณชาติ และสุวรรณา ประณีตวตกุล. 2556. ปัจจัยด้านสภาพภูมิอากาศที่มีผลต่อผลิตภาพการผลิตโดยรวมภาคการเกษตรในภาคตะวันออกของไทย. วารสารเกษตรศาสตร์ (สังคม) 34: 399-412.

อรรถชัย จินตะเวช. 2547. การสะสมคาร์บอน. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 63 หน้า.

อรรถพล โสภาพงศ์. 2554. ผลของการไถกลบหญ้าแฝกและระดับน้ำในนาข้าวต่อสมบัติของดินและการปลดปล่อยก๊าซมีเทน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 140 หน้า.

เอกพันธ์ แซ่ย่าง, สุภาภรณ์ ญะเมืองมอญ และชนากานต์ พรมอุทัย. 2564. ผลของชนิดปุ๋ยโพแทสเซียมต่อผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของข้าวพันธุ์ชัยนาท 1 ที่ปลูกในสภาพน้ำขังและน้ำไม่ขัง. วารสารแก่นเกษตร 49(1): 1-11.

ไอลดา จำปาทอง, ปุญญิศา ตระกูลยิ่งเจริญ และกุมุท สังขศิลา. 2561. อิทธิพลระยะยาวของการใส่วัสดุอินทรีย์ต่อการกระจายขนาดของเม็ดดินและอินทรียวัตถุในดินที่ปลูกอ้อย. วารสารดินและปุ๋ย 40(1): 6-16.

Altland, J.E., Gilliam, G.J. Keever, J.H. Edwards, J.L. Sibley and D.C. Fare. 2003. Rapid determination of nitrogen status in pansy. Horticulture Science 38: 537-541.

Brady, N.C. and R.R. Weil. 2002. The Nature and Properties of Soils. 13th Edition, Prentice Hall, New Jersey. 960 p.

Carreira, J.A., B. Vinegla and K. Lajtha. 2006. Secondary CaCO3 and precipitation of P-Ca compounds control the retention of soil P in arid ecosystem. Journal of Arid Environments 64: 460-473.

Dobermann, A. and T.H. Fairhurst. 2000. Rice Nutrient Disorders and Nutrient Management. Oxford Graphic Printers Pte Ltd, Philippines. 193 p.

Gething, P.A. 2000. Potash facts. (Online). Available Source: https://www.ipipotash.org/uploads/udocs/potash_facts.pdf (March 17,2022).

Hook, D.D., W.H. McKee, Jr. H.K. Smith, J. Gregory, V.G. Burrel, Jr. M.R. De Voe, R.E. Sojka, S. Gilbert, R. Banks, L.H. Stollzy, C. Brooks, T.D. Matthews and T.H. Shear. 1998. The Ecology and Management of Wetland. Vol 1. Timber Press, United States of America. 592 p.

Inoko, A. 1984. Compost as a source of plant nutrients. (online). Available Source: https://agris.fao.org/agris-search/search.do?recordID=XB8411353 (October 17,2022).

Intergovernmental Panel on Climate Change. 2001. Contribution of Working Group I to the Third Assessment Report of the Intergovernmental Panel on Climate Change. Cambridge University Press, Cambridge. 982 p.

Jifon, J.L., J.P. Syvertsen and E. Whaley. 2005. Growth environment and leaf anatomy affect nondestructive estimates of chlorophyll and nitrogen in Citrus sp. leaves. Horticulture Science 130: 152-158.

Kemmler, G. 1980. Potassium deficiency in soils of the tropics as a constraint to food production in Priorities for Alleviating, pp. 253-275. In: Priorities for alleviating soil-related constraints to food production in the tropics. International Rice Research Institute. 1099 Manila, Philippines.

Land Classification Division and FAO Project Staff. 1973. Soil Interpretation Handbook for Thailand. Department of Land Development Ministry of Agriculture and Cooperatives, Bangkok. 135 p.

National Soil Survey Center. 1996. Soil Survey Laboratory Method Manual. Retrieved from United States Department of Agriculture, United States of America.

Ponnamperuma, F.N. 1965. Dynamic Aspects of Flooded Soil and the Nutrition of the Rice Plant, pp. 295-328. In: Proceedings of a Symposium at the IRRI. February 1964, Johns Hopkins university, Maryland.

Rice Knowledge Bank. 2014. Saving water. Alternate Wetting Drying (AWD). (Online). Available Source: http://www.knowledgebank.irri.org/training/fact-sheets/water-management/saving-water-alternate-wetting-drying-awd (January 18, 2022).

Schmieder, F., L. Bergström, M. Riddle, J.P. Gustafsson, W. Klysubun, F. Zehetner, L. Condron and H. Kirchmann. 2018. Phosphorus speciation in a long-term manure-amended soil profile-Evidence From wet chemical extraction, 31P-NMR and P K-edge XANES spectroscopy. Geoderma 322: 19-27.

Slocum, R.D., R. Kaur-Sawhney and A.W. Galson. 1991. The physiology and biochemistry of polyamines in plants. Archives of Biochemistry and Biophysics 235(2): 283-303.

Sukitprapanon, T., M. Jantamenchai, D. Tulaphitak, N. Prakongkep, R.J. Gilkes and P. Vitykon. 2021. Influence of application of organic residues of different biochemical quality on phosphorus fractions in a tropical sandy soil. Agronomy 11(248): 1-14.

Yoshida, S. 1981. Fundamental of Rice Crop Science. International Rice Research Institute, Philippines. 269 p.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-05-07

ฉบับ

บท

บทความวิจัย บทความวิชาการ