ชนิดของเพลี้ยไฟในกุหลาบและการควบคุมโดยใช้สารสกัดจากพืช

ผู้แต่ง

  • นิสา เกลี้ยงเกลา ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • ปภพ สินชยกุล ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • วิชัย สรพงษ์ไพศาล ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • อารยา บุญศักดิ์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

คำสำคัญ:

สารสกัดจากพืช, เพลี้ยไฟ, กุหลาบ

บทคัดย่อ

เพลี้ยไฟที่ลงทำลายกุหลาบมีหลายชนิดโดยแต่ละชนิดมีความสำคัญแตกต่างไปตามสภาพพื้นที่ ในการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจำแนกชนิดของเพลี้ยไฟที่ลงทำลายกุหลาบและศึกษาประสิทธิภาพสารสกัดจากพืช 10 ชนิด คือ บอระเพ็ด ว่านน้ำ ยาสูบ มะคำดีควาย สาบเสือ ผกากรอง หางไหล ยูคาลิปตัส สะเดา และหนอนตายหยาก เพื่อการควบคุมเพลี้ยไฟในกุหลาบ ดำเนินการในพื้นที่แปลงกุหลาบอินทรีย์ ตำบลกลางดง อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา ผลการทดลองพบว่าชนิดของเพลี้ยที่ลงทำลายกุหลาบมี 3 ชนิด คือเพลี้ยไฟดอกไม้ฮาวาย (Thrips hawaiiensis) เพลี้ยไฟฝ้าย (Thrips palmi) และเพลี้ยไฟพริก (Scirtothrips dorsalis) โดยมีสัดส่วน เท่ากับ 79:12:9 ผลการทดสอบประสิทธิภาพสารสกัดจากพืชทั้ง 10 ชนิด พบว่า สารสกัดยาสูบ มีประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ยไฟได้ดีที่สุด รองลงมาคือ หนอนตายหยาก และว่านน้ำ และสารมีประสิทธิภาพในการควบคุมได้นาน 3 วัน

References

กนกศักดิ์ ปัญญาฤทธิ์, กัลยาณี คุ้ยยาสุข, ฑิมภ์พร บุญดำเนิน และอัญชลี สุขชม. 2553. ประสิทธิภาพของน้ำมันขมิ้นชันและน้ำมันยูคาลิปตัสในการควบคุมด้วงงวงข้าวสาร. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2562. ข้อมูลการผลิตไม้ดอกไม้ประดับ. (ระบบออนไลน์) แหล่งข้อมูล: http://production.doae.go.th/. (15 ธันวาคม 2563)

กัมปนาท รื่นรมย์, ศิริพรรณ ตันตาคม และ ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ. 2554. ประสิทธิภาพในการกำจัดหนอนใยผักของสารสกัดจากบอระเพ็ดที่สกัดด้วยตัวทำละลายต่างๆ. หน้า 93-98 ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

โชคชัย พรหมแพทย์. 2537. ไม้สะเดาและการใช้สารสกัดสะเดาป้องกันกำจัดแมลง. สำนักพิมพ์อโกรคอมมิวนิก้า, กรุงเทพฯ. 176 หน้า.

ณัฐวดี สมบัติเทพสุทธิ์. 2551. ฤทธิ์ของสารสกัดหยาบจากรากหนอนตายหยาก (Stemona curtisii Hook) โล่ติ๊น (Derris elliptica Benth) และน้ำมันเมล็ดสะเดาช้าง (Azadirachta excelsa (Jack) Jacobs.) เพื่อควบคุมผีเสื้อหนอนใยผัก ในการปลูกผักกวางตุ้งแบบไฮโดรโพนิกส์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (กีฏวิทยา) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, สงขลา. 115 หน้า.

ธำรงค์ เครือชุมพล. 2551. พริก. ทับทิมทองการพิมพ์. กรุงเทพฯ. 120 หน้า.

นันทวัน บุณยะประภัศร และอรนุช โชคชัยเจริญพร. 2543. สมุนไพรพื้นบ้าน. บริษัทประชาชนจำกัด กรุงเทพฯ. 740 หน้า.

นิจศิริ เรืองรังษี และ พยอม ตัยติวัฒน์. 2534. สมุนไพรใช้แก้ไข้และขับปัสสาวะ. พืชสมุนไพร สํานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 243 หน้า.

พรรณีกา อัตตนนท์, ปิยะศักดิ์ อรรคบุตร, สุเทพ สหายา และรัตนาภรณ์ พรหมศรัทธา. 2553. การใช้สารธรรมชาติลดการใช้ EPN ในถั่วฝักยาว. รายงานผลการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ 2552 เล่ม 1. สำนักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ. 396 หน้า.

พิสมัย ชวลิตวงษ์พร. 2538. แมลงศัตรูไม้ดอกไม้ประดับของประเทศไทย. เอกสารวิชาการประจำปี 2538. กรมวิชาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพมหานคร, 148 หน้า

มนตรี เอี่ยมเจริญ, ปภพ สินชยกุล, และวิชัย สรพงษ์ไพศาล. 2561. ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรที่มีฤทธิ์ต่อเพลี้ยไฟข้าว. หน้า 228-233. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 10. ตรัง.

สุเทพ ทองมา, รุ่งนภา ช่างเจรจา, กัทลีวัลย์ สุขช่วย และอรุณ โสตถิกุล. 2552. ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์หางไหลในการควบคุมโรคและแมลงศัตรูในแปลงกุหลาบ. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. 9 หน้า.

ศิริณี พูนไชยศรี. 2544. เพลี้ยไฟ Terebrantia. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กรุงเทพฯ. 75 หน้า.

ศรีจำนรรจ์ ศรีจันทา, วิมลวรรณ โชติวงศ์, อัจฉรา หวังอาษา, วนาพร วงษ์นิคง และวรวิช สุดจริต ธรรมจริยางกูล. 2556. ประสิทธิภาพสารฆ่าแมลงในการป้องกันกำจัดเพลี้ยไฟฝ้าย (cotton thrips); Thrips palmi (Karny) ในกล้วยไม้สกุลหวาย. รายงานผลงานวิจัยประจำปี 2556. สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร 325-348 หน้า.

ศุภกร วงศ์สุข, เยาวลักษณ์ จันทร์บาง และจิราพร กุลสาริน. 2017. ประสิทธิภาพเศษใบยาสูบในการควบคุมแมลงศัตรูผักบางชนิด. วารสารเกษตร 33(3): 367-376.

โศรยา พันธุ์วริยะพงษ์. 2531. พืชกําจัดแมลง. หน้า.44-47. ในเอกสารการประชุมสัมมนาพืชสารฆ่าแมลงในการทำการเกษตร, 28-30 กันยายน 2531. สถานีทดลองพืชไร่ศรีสําโรง. อําเภอศรี สําโรง, สุโขทัย.

สํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร. 2548. การใช้สารสกัดจากพืชเพื่อควบคุมศัตรูพืช อย่างง่าย. เอกสารเชิงวิชาการสํานักวิจัยพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กรมวิชาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. กรุงเทพฯ. 47 หน้า.

สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. 2553. คำแนะนำการป้องกันกำจัดแมลงและศัตรูพืช.กลุ่มกีฏและสัตววิทยา และกลุ่มบริหารศัตรูพืช สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืชกรมวิชาการเกษตร 309 หน้า.

สุภาณี พิมพ์สมาน รัตนาภรณ์ พรหมศรัทธา และสังวาลย์ สมบรูณ์. 2546. สารสกัดจากหนอนตายหยาก(Stemona sp.)เพื่อการควบคุมแมลงศัตรูพืช ในการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 6 ณ.โรงแรมโซฟิเทลราชาออคิดขอนแก่น วันที่ 24-27 พฤศจิกายน 2546. 22 หน้า.

สุวรรณา สุวรรณประทีป และขวัญชัย สมบัติศิริ. 2518. ชีววิทยาและนิเวศน์วิทยาของเพลี้ยไฟศัตรูกุหลาบ (Scirtothrips dorsalis Hood). วารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขาวิทยาศาสตร์ 9(1): 35-45.

Abtew, A., S. Subramanian, X. Cheseto, S. Kreiter, G. T. Garzia and T. Martin. 2015. Repellency of plant extracts against the legume flower thrips Megalurothrips sjostedti (Thysanoptera: Thripidae). Insects 6:608-625.

Ahmad S., M. B. Chatha, M. Kaleem, M. Binyameen, M. U. Haider and Q. Ali. 2017. Evaluation of some indigenous plant extract for the management of onion thrips (Thrips tabaci, Thysanoptera: Thripidae). Entomology and Applied Science Letters 47(3): 463–468.

Aristizábal, L. F., Y. Chen, R. H. Cherry, R. D.Cave and S. P. Arthurs. 2016. Efficacy of biorational insecticides against chilli thrips, Scirtothrips dorsalis (Thysanoptera: Thripidae), infesting roses under nursery conditions. Journal of Applied Entomology 141(4): 274–284.

Bruneton, J. 1995. Pharmacognosy, Phytochemistry and Medicinal Plants, English Translation by Hatton, C. K., Lavoisier Publishing, Paris. 265 pp.

Grisi, P. U., M. R. Forim, E. S. Costa, S. Anese, M. Franco, M. N. Eberlin and S. Gualtieri. 2014. Phytotoxicity and identification of secondary metabolites of Sapindus saponaria L. leaf extract. Journal of Plant Growth Regulation 34: 339-349.

Hegde, J. N., A. K. Chakravarthy, M. K Nagamani and M. S Prabhakar. 2011. Management of thrips, Scirtothrips dorsalis Hood, on rose under open-field and protected conditions. Journal of Horticultural Sciences 6(2): 118-122.

Hematpoor, A., S. Y. Liew, M. S. Azirun and K. Awang. 2017. Insecticidal activity and the mechanism of action of three phenylpropanoids isolated from the roots of Piper sarmentosum Roxb. Scientific Reports 7: 1-13.

Hole, U. B., S. M. Gangurrde, N. D. Sarode and R. W. Bharud. 2015. Bioefficacy of wild plant extract for biological control of insect pests of Bt cotton. Journal of Biological Sciences 10: 167-170.

Ibrahim, M. A., E. Oksanen and J. Holopainen. 2004. Effects of limonene on the growth and physiology of cabbage (Brassica oleracea L) and carrot (Daucus carota L) plants. Journal of the Science of Food and Agriculture 84: 1319-26.

Iqra Qayyum, M. Fazal-ur-Rehman and M.S. Ibrahim. 2018. Extraction of nicotine (3-(1-methyl-2-pyrrolidinyl) pyridine) from tobacco leaves separated from gold live classic brand™ cigarettes by solvent extraction approach and characterization via IR analysis. Biosciences Biotechnology Research Asia 15(4): 799-804.

Kinoshita, A. and M. Mori. 1997. Total synthesis of (-) stemoamide using ruthenium catalyzed enyne metalysis reaction. Journal of Organic Chemistry 46(1): 287 - 299.

Koyanma, H. and K, Oda. 1970. Structural and biological investigations of the Stemona alkaloids. Journal of the Chemical Society 125: 268-279.

Kumar, A., S. Lingadurai, A. Jain, N. R. Barman. 2010. Erythrina variegate Linn. A review on morphology, phytochemisty, and pharmacological aspects. Pharmcognosy Review 4(8): 147-152.

Mound, L. A. and J. M. Palmer. 1992. Thrips of Panama: a biological catalogue and bibliography (Thysanoptera). PP. 321-338. In: D. Quintero,.and A. Aiello (eds.). Insects of Panama and Mesoamerica. Selected Studies. Oxford Science Publications, Oxford, United Kingdom.

Moura, M. F., M. C. Picanço, E. M. Silva, R. N. C. Guedes and J. L. Pereira. 2003. Plano de amostragem do biotipo B de Bemisia tabaci na cultura do pepino. Pesquisa Agropecuária Brasileira 38:1-7.

Nijënstein, J. and A. Ester. 1998. Phytotoxicity and control of the field slug Deroceras reticulatum by seed applied pesticides in wheat barley and perennial ryegrass. Seed Science and Technology 26: 501-513.

Ogbalu, O. K., R. B. Bobmanuel and O. Membere. 2014. Larvicidal effect of aqueous leaf extract of tobacco (Nicotiana tabacum) on the third instar larvae of Musca domestica L. IOSR Journal of Agriculture and Veterinary Science 7: 35-40.

Peter, A. J. and K. Lee. 1997. Total synthesis of Stemoamide. Journal of the American Chemical Society 119: 3409-3410.

Prema, M.S., N. Ganapathy, P. Renukadevi, S. Mohankmar and J. S. Kennedy. 2018. Efficacy of diffent botanical extracts on Thrips pamli in cotton. Journal of Pharmacognosy and Phytochemistry 7(2): 2824-2829.

Regmi, R., S Tiwari, S. Poudel, G. Bhandari and L. Kafle. 2015. Eco friendly management of thrips (Megalurothrips sjostedti Trybom) in asparagus bean in Chitwan, Nepal. Agriculture and Biology Journal of North America 6(6): 168-173.

Shinthiya, S.C. and T. A. Razak.2017. Bio efficacy of certain Acorus calamus products against sucking pests of Brinjal. Journal of Entomology and Zoology Studies 5(5): 1574-1578.

Singh, D. K., T. C. Verma, S. Aswal and G. Aswani. 2014. Effect of different botanical pesticides against Thrips tabaci on garlic crop. Asian Agri-History 18(1): 57-61.

Tang, C., T. Chen, R. Velten and P. Jeschke. 2008. Alkaloids from stems and leaves of Stemona japonica and their insecticidal activities. Journal of Natural Products 71(1):112-6.

Wina, E., S. Muetzel and K. Becker. 2005. The impact of saponins or saponin-containing plant materials on ruminant production-a review. Journal Agricultural and Food Chemistry 53: 8093-8105.

Virteiu, A. M., I. Grozea, R. Stee, A. Carabet, L. Molnar, T. Florian and V. Mazare .2015. Analysis of the thrips fauna on flowers of roses in western part of romania. Bulletin of university of agricultural sciences and veterinary medicine cluj-napoca. Horticulture 72(2): 608-609.

Yamamoto, I. 1999. General review of the mode of insecticidal action of naturally occurring nicotine. Tokyo Nogyo Daigaku Nogaku Shuho 43(44): 169-185.

Yi, C. G., M. Kwon, T. T. Hieu, Y. S. Jang and Y. J. Ahn. 2007. Fumigant toxicity of plant essential oils to Plutella xylostella (Lepidoptera: Yponomeutidae) and Cotesia glomerata (Hymenoptera: Braconidae). Journal of Asia-Pacific Entomology 10(2): 157-16.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-07-03

ฉบับ

บท

บทความวิจัย บทความวิชาการ