การพัฒนาสื่อการสอน แอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง แอ่วเขลางค์นครลำปางบ้านเฮา
DOI:
https://doi.org/10.57260/stc.2025.809คำสำคัญ:
แอนิเมชัน 2 มิติ , ลำปาง , แหล่งท่องเที่ยวประวัติศาสตร์บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาสื่อการสอนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง สื่อการ์ตูนแอนิเมชันแอ่ว เขลางค์นครลำปางบ้านเฮา 2) เพื่อประเมินคุณภาพของสื่อการสอน และ 3) ศึกษาความพึงพอใจจากการใช้สื่อการสอน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ครั้งนี้คือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตราชภัฏเชียงใหม่ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) สื่อการสอนแอนิเมชัน 2 มิติ 2) แบบประเมินคุณภาพสื่อของผู้เชี่ยวชาญ และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจจากการใช้สื่อการสอน วิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ซึ่งมีผลการวิจัยดังนี้ 1) สื่อแอนิเมชัน 2 มิติ สื่อการ์ตูนแอนิเมชันแอ่วเขลางค์นครลำปางบ้านเฮา สำหรับ ประถมศึกษาปีที่ 1 สามารถนำมาใช้เป็นสื่อ ประกอบการสอนในสาระการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระประวัติศาสตร์ รายวิชาประวัติศาสตร์ได้ 2) ผลการประเมินประสิทธิภาพของสื่อ อยู่ในระดับมากที่สุด ด้วยค่าเฉลี่ย 4.54 และ 3) ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ด้วยค่าเฉลี่ย 4.54
References
จุฬาพรรณพรรณ เครือสุนทร และ ณภัทร สุวรรณ. (2565). แอนิเมชัน 2 เรื่องการเตรียมพร้อมก่อนการเดินทางเพื่อการท่องเที่ยวในประเทศต่างๆ (โครงงาน). กรุงเทพฯ: คณะเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยสยาม.สืบค้นจาก https://e-research.siam.edu/kb/2d-animation
ชญานิน อุประ และ ประภาพร ต๊ะดง. (2566). การพัฒนาสื่อการสอน แอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง แม่ฮ่องสอนเมืองสามหมอก.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(1), 48-59. สืบค้นจาก https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/497
ชาญศักดิ์ พบลาภ. (2556). การศึกษารูปแบบตัวการ์ตูนแบบพื้นฐานญี่ปุ่นและแบบพื้นฐานอเมริกา เพื่อการออกแบบหนังสือประกอบการเรียน สำหรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. Veridial E-Journal, SU, 6(1), 536-547. สืบค้นจาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/28397/24421
ชัยณรงค์ บุญชื่น, ธีรศักดิ์ เชื้อหนองควาย และ ศิริกรณ์ กันขัติ์. (2566). การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ 3 มิติ ผ่านเมตาเวิร์ส กรณีศึกษาคลองแม่ข่า. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(2), 27-35. สืบค้นจาก https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/536
ธนีวรากานต์ ณัฏฐ์ชนะกุณ. (2561). การพัฒนาสื่อแอนิเมชันเพื่อปลูกฝังคุณธรรมโดยใช้เทคนิคการนำเสนอแบบสตอรี่ไลน์สำหรับเด็กประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารร่มพฤกษ์, 36(2), 75-97. สืบค้นจาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/romphruekj/article/view/121977
วรวัฒน์ นิ่มอนงค์. (2563). Addie Model กับการออกแบบสื่อให้ปังกว่าเดิม. สืบค้นจาก https://inskru.com/idea/-MLCRe1sMhuZj-0jOYMU/
วิลาวัลย์ ผาด่าน และ เสกษฎาวุฒิ ศรีโสดา.(2566). การพัฒนาสื่อการสอนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA). ใน การประชุมวิชาการ ระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ครั้งที่ 5 อยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
ศรันย์ วรรณภิรมย์, พนัชพรรณ วัฒนพันธ์ และ ศิริกรณ์ กันขัติ์. (2567). การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์มาตรฐาน ePub 3 เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 2(5), 31-44. สืบค้นจาก https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/797
ศศิลักษณ์ ไชยตัน, อาฉ๊ะ บิลหีม, สาวิตรี พิพิธกุล และ ทักษิณา นพคุณวงศ์. (2567). การพัฒนาสื่อการสอนด้วยการ์ตูนแอนิเมชัน 3 มิติ เรื่อง การคัดแยกขยะ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก, 2(3), 31-44. สืบค้นจาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/JSCI/article/view/247870
อภิวัฒน์ ชัยกลาง และ พิมพ์ชนก สุวรรณศรี. (2567). การพัฒนาการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง แก๊งคอลเซ็นเตอร์.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 2(6), 63-73. สืบค้นจาก https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/828
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2025 วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน “วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน” ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2. เนื้อหาบทความที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ