การศึกษาการยอมรับทางประสาทสัมผัสของนมแพะวันที่ 8 ถึงวันที่ 35 หลังคลอด

ผู้แต่ง

  • ศศิธร นาคทอง ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน
  • ทิพมนต์ จันทร ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร กำแพงแสน

คำสำคัญ:

นมแพะดิบ, นมแพะพาสเจอร์ไรส์, ลักษณะทางประสาทสัมผัส

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการยอมรับทางประสาทสัมผัสของนมแพะหลังคลอดลูกจนเข้าสู่สภาวะนมปกติ โดยเก็บตัวอย่างน้ำนมจากแม่แพะหลังคลอดจนครบ 35 วัน จำนวน 13 ตัว ผลการศึกษาพบว่า การประเมินทางประสาทสัมผัส ด้านลักษณะปรากฏและสี รูปร่างและลักษณะเนื้อสัมผัส กลิ่นรส รวมถึงรสชาติโดยรวม พบว่าน้ำนมแพะดิบที่ได้จากแม่แพะหลังคลอดลูกแล้ว 14 วัน สามารถนำไปทำผลิตภัณฑ์น้ำนมแพะพาสเจอร์ไรส์ และน้ำนมแพะสเตอริไลส์ได้

References

ชูศักดิ์ จอมพุก. 2555. สถิติ : การวางแผนการทดลองและการวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยด้านพืชด้วย “R”. พิมพ์ครั้งที่ 2 ฉบับปรับปรุง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ทิพมนต์ จันทร. คุณภาพทางกายภาพ – เคมี และลักษณะทางประสาทสัมผัสของนมสเตอริไลส์ที่ผลิตจากน้ำนมแพะดิบแช่แข็ง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม.

ทองยศ อเนกะเวียง. 2529. คู่มือปฏิบัติการนม. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.

นิธิยา รัตนปนนท์. 2557. เคมีนมและผลิตภัณฑ์นม. โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, กรุงเทพฯ.

ภัทรกร ทัศพงษ์. ม.ป.ป. Ruminant Production. Feed and Food Requirement in Ruminant. วิทยาศาสตร์เกษตร. สาขาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. มหาวิทยาลัยนเรศวร: 70-89.

มาตรฐานสินค้าอาหารและเกษตรแห่งชาติ. 2551. น้ำนมแพะดิบ. สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร

แห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์(มกอช). 6006-2551. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 125 ตอนพิเศษ 139. วันที่ 18 สิงหาคม พุทธศักราช 2551.

ศศิธร นาคทอง. 2555. ปฏิบัติการหลักวิทยาศาสตร์น้ำนม. หจก. มีน เซอร์วิส ซัพพลาย, กรุงเทพฯ.

Baker, J.M., C. W. Gehrke, and tt. E. Affsprung. 1954. A study of the effect of heat upon ionic availability in milk. J. Dairy Sci. 37:6, 643

Peryam, D.R. and V.W. Swartz. 1951. Measurement of sensory difference. Food Technol. 4: 390-395.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-13

ฉบับ

บท

บทความวิจัย บทความวิชาการ