การเจริญเติบโตและผลผลิตของต้นอ่อนข้าวสาลีที่ใช้ผักตบชวาแห้งเป็นวัสดุเพาะ

ผู้แต่ง

  • ชมดาว ขำจริง สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

คำสำคัญ:

ผักตบชวาแห้ง, วัสดุเพาะ, ต้นอ่อนข้าวสาลี

บทคัดย่อ

ผักตบชวาจัดเป็นพืชต่างถิ่นรุกรานที่เป็นปัญหาระดับประเทศ แต่เมื่อนำมาทำให้แห้งสามารถนำไปใช้เป็นวัสดุเพาะต้นอ่อนได้ งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ผักตบชวาแห้งต่อการผลิตต้นอ่อนข้าวสาลี วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) จำนวน 4 ซ้ำ ประกอบด้วย 4 สิ่งทดลอง คือ 1) แกลบดำ : ขุยมะพร้าว อัตรา 1:1 2) แกลบดำ : ผักตบชวาแห้ง อัตรา 1:1 3) ขุยมะพร้าว : ผักตบชวาแห้ง อัตรา 1:1 และ 4) ผักตบชวาแห้ง ผลการทดลอง พบว่า ต้นอ่อนข้าวสาลีที่เพาะด้วย แกลบดำ : ผักตบชวาแห้ง อัตรา 1:1 มีเปอร์เซ็นต์การงอก (74.00 เปอร์เซ็นต์) ดัชนีความเร็วในการงอก (14.63) จำนวนวันที่เมล็ดสามารถงอกได้ 50 เปอร์เซ็นต์ (5 วัน) และน้ำหนักสด (4.28 กรัมต่อ 100 เมล็ด) ดีที่สุด ส่วนต้นอ่อนข้าวสาลีที่เพาะด้วยแกลบดำ : ขุยมะพร้าว อัตรา 1:1 มีความสูง (5.54 เซนติเมตร) มากที่สุด และจำนวนวันที่เมล็ดสามารถงอกได้ 50 เปอร์เซ็นต์ (5 วัน)

References

กิตติพจน์ เพิ่มพูน และสาธิกา บุญแก้ววรรณ. 2554. คู่มือการจัดการผักตบชวา. สำนักพิมพ์สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 5, นครปฐม. 57 หน้า.

คริษฐ์สพล หนูพรหม. 2559. ผลของวัสดุเพาะกล้าจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรต่อความงอกและการเจริญเติบโตของต้นกล้าบรอคโคลี (Brassica oleracea L. var. italic). หน้า 1172-1177. ใน: รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 6. มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, ภูเก็ต.

จวงจันทร์ ดวงพัตรา. 2529. การตรวจสอบและวิเคราะห์คุณภาพเมล็ดพันธุ์. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 195 หน้า.

จิตราภรณ์ เทวะนา. ม.ป.ป. การเพาะต้นอ่อนพืชออร์แกนิค กล่องความรู้กินได้ Knowledge Box Set. สำนักพิมพ์โครงการศูนย์ความรู้กินได้@สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้. กรุงเทพฯ. 59 หน้า.

ชนาธิป กุลดิลก และสุทัศน์ เล้าสกุล. 2540. อิทธิพลของวัสดุเพาะชำและวัสดุกลบที่มีผลต่อการงอกของเมล็ดหวายโป่งและหวายกำพวน. สำนักพิมพ์ส่วนวนวัฒนวิจัย สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ. 17 หน้า.

ชยพร แอคะรัจน์. 2546. วิทยาการเมล็ดพันธุ์. สำนักพิมพ์ฐานเกษตรกรรม, กรุงเทพฯ. 197 หน้า.

ธนัชพร เสมเถื่อน และชมดาว ขำจริง. 2559. ผลของวัสดุเพาะกล้าจากเศษวัสดุเหลือใช้ที่มีต่อการงอกและการเจริญเติบโตของต้นอ่อนโตเหมี่ยว. หน้า 6. ใน: โครงการนำเสนอผลงานทางวิชาการระดับปริญญาบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ครั้งที่ 3. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, นครศรีธรรมราช. ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ. 2559. เคยู โคโค่พีท KU COCOPEAT วัสดุเพาะกล้าเพื่อความยั่งยืนของเกษตรกรรมโลก. วารสารเกษตรอภิรมย์ 3(14): 20-23.

บรรยงค์ แบบประเสริฐ. 2544. ประโยชน์และโทษของผักตบชวา. วารสารกรมวิทยาศาสตร์บริการ 49(156): 21-22.

ปกรณ์ เนตรขำ และชมดาว ขำจริง. 2560. ผลของวัสดุเพาะกล้าจากเศษวัสดุเหลือใช้ที่มีต่อการงอกและการเจริญเติบโตของต้นอ่อนไควาเระ. หน้า 2. ใน: โครงการนำเสนอผลงานทางวิชาการระดับปริญญาบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร ครั้งที่ 4. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, เพชรบุรี.

ประพาย แก่นนาค, สุขสันต์ สายวา และบัณฑิต โพธิ์น้อย. 2540. อิทธิพลของวัสดุเพาะและวัสดุกลบต่อการงอกของเมล็ดไม้ตาเสือ. หน้า 100-107. ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 35. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ทบวงมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ประไพศรี สมใจ, พวงเพ็ญ สูยะนันทน์ และสุภาพ อัจฉริยศรีพงศ์. 2536. การป้องกันเชื้อราของผลิตภัณฑ์หัตถกรรมทำจากเส้นใยผักตบชวา. หน้า 207-215. ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ทบวงมหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ปรียาภรณ์ แนมใส. 2546. อิทธิพลของวัสดุเพาะต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้าผัก. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. 93 หน้า.

พงษ์ธิพันธ์ ผึ่งผาย, อำนวย วัฒนกรสิริ และนภาพร แข่งขัน. 2561. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซับคราบน้ำมันโดยใช้วัสดุที่มีรูพรุนนาโนเทคโนโลยีธรรมชาติ. วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น 40(1): 38-49.

พรพิมล ศิริกุล. 2556. ต้นอ่อนข้าวสาลี : ลดความดัน ป้องกันเบาหวาน ต้านมะเร็ง. สำนักพิมพ์มันตรา, กรุงเทพฯ. 144 หน้า.

พีรเดช ทองอำไพ. 2537. ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ : แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 196 หน้า.

มนต์สวรรค์ จินดาแสง. 2556. ต้นอ่อนข้าวสาลี (วีทกราส) สุดยอดอาหารต้านมะเร็ง. สำนักพิมพ์ภารกิจ, นนทบุรี. 328 หน้า.

ยงยุทธ โอสถสภา. 2552. ธาตุอาหารพืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 548 หน้า.

รัชนี นิธากร, อนุรักษ์ กังขอนนอก, ศศิธร เมธาวิวัฒน์ และสุจิตรา เที่ยงสันเทียะ. 2557. การศึกษาวัสดุเพาะที่เหมาะสมต่อการเพาะต้นอ่อนข้าวสาลีพันธุ์ฝาง 60 เพื่อผลิตน้ำคั้น. หน้า 448-459. ใน: รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, กำแพงเพชร.

ศุภชัย เบญจดํารงกิจ และประพันธ์ ผู้กฤตยาคามี. 2534. การงอกของเมล็ดพยุงในวัสดุเพาะชำที่แตกต่างกัน. วารสารวนศาสตร์ 10: 110-114.

สนั่น ขำเลิศ. 2522. หลักและวิธีการขยายพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 217 หน้า.

สมเพียร เกษมทรัพย์. 2524. ไม้ดอกกระถาง. สำนักพิมพ์อักษรพิทยา, กรุงเทพฯ. 244 หน้า.

สิริมา แท่นนิล และปราโมทย์ ประจนปัจจนึก. 2557. การปรับตัวของเกษตรกรจากปัญหาการปลูกมะพร้าวในเขตอำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 40(1): 114-127.

สุมนทิพย์ บุนนาค. 2540. การเจริญเติบโตและฮอร์โมนพืช. สำนักพิมพ์ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 354 หน้า.

สุธีรา ชูบัณฑิต. 2557. ผักตบชวาปัญหาระดับชาติ: กฎหมายกำจัดผักตบชวา. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://61.19.241.96/w3c/senate/pictures/content/file1408435896.pdf. (15 มิถุนายน 2565).

สุเทพ วัชรเวชศฤงคาร และณิฏฐา คุ้มโต. ม.ป.ป. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: https://www.nstda.or.th/agritec/wpcontent/uploads/2021/04/microgreen-OK-N-compress.pdf. (23 พฤษภาคม 2565).

เหนียวคำ คำมีนาที. 2555. ผลของวัสดุปลูกอินทรีย์และน้ำหมักชีวภาพต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้ามะเขือเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 117 หน้า.

อมรรัตน์ ภูไพบูลย์, พจนา ตระกูลสุขรัตน์ และพีระวรรณ วัฒนวิภาส. 2552. ผลงานวิจัยและพัฒนา ปี 2552 เรื่อง ปฏิกิริยาของพันธุ์หน้าวัวลูกผสมต่อโรคเน่าดํา. คลังผลงานวิจัย กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ. 2459 หน้า.

อภิชาติ ศรีสอาด และพัชรี สำโรงเย็น, 2558. เมล็ดงอกเพื่อสุขภาพทำเงิน. สำนักพิมพ์นาคา อินเตอร์มีเดีย, กรุงเทพฯ. 136 หน้า

เอกรินทร์ สารีพัว, ปริญดา แข็งขัน และชยพร แอคะรัจน์. 2561. ผลของพันธุ์และวัสดุเพาะต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตในการผลิตต้นอ่อนผักบุ้ง. วารสารแก่นเกษตร 46(3): 543-548.

Akendo, I.C.O., L.O. Gumbe and A.N. Gitau. 2008. Dewatering and drying characteristic of water hyacinth (Eichhornia crassipes) petiole. Part 1. Dewatering characteristics. Agricultural Engineering International: the CIGR Ejournal 10: 1-14.

Anil, V.S. and K.S. Rao. 2001. Calcium-mediated signal transduction in plants: a perspective on the role of Ca2+ and CDPKs during early plant development. Journal of Plant Physiology 158: 1237-1256.

AVRDC. 2000. Smoked Rice Hulls as a Planting Medium for Seedlings. ECHO Asia Notes 69: 4.

Bush, D.S. 1995. Calcium regulation in plant cells and its role in signaling. Annual Review of Plant Physiology and Plant Molecular Biology 46: 95-122.

Davies, R.M. and U.S. Mohammed. 2011. Moisture-dependent engineering properties of water hyacinth parts. Singapore Journal of Scientific Research 1: 253-263.

Hartmann, H.T., D.E. Kester, F.T. Davies, Jr. and R.L. Geneve. 1997. Plant Propagation: Principles and Practices Sixth Edition. Prentice Hall PTR, New Jersey United States. 770 p.

Hepler, P.K. 2005. Calcium: A central regulator of plant growth and development. The Plant Cell 17(8): 2142–2155.

ISTA. 2013. Rules Proposals for the International Rules for Seed Testing 2010 Edition. The International Seed Testing Association, Switzerland. 47 p.

Konstantinov, G. 1983. Transplantless growing of cv. Drouzhba tomatoes using pelleted seeds. Gradinarska I Lozarska Nauka 20(4): 53-57.

Leopold, A.C., and P.E. Kriedemann. 1977. Plant Growth and Development. McGraw-Hill, New York. 545 p.

Li, H., X. Li, G. Zhang, X. Weng, S. Huang, Y. Zhou, S. Zhang, L. Liu and J. Pei. 2022. The optimum calcium concentration for seedling growth of Mongolian pine (Pinus sylvestris var. Mongolica) under different soil types in northern semi-arid areas of China. Frontier Environmental Science 10: 1-10.

Marty, W. and C. Hoffmann. 2010. Why Green Nutrition? Exploring the Nutritional Benefits of Wheat Grass for Pets. (Online). Available Source: https://www.parallelinteractive.com/wp-content/uploads/2017/08/bellrockgrowersebook.pdf. (May 25, 2022).

Mulaudzi, T., K. Hendricks, T. Mabiya, M. Muthevhuli, R.F. Ajayi, N. Mayedwa, C. Gehring and E. Iwuoha. 2020. Calcium improves germination and growth of Sorghum Bicolor seedlings under salt stress. Plants 9(6): 730.

Neethu S.K., M. Megha, M.N. Anju and S.N. Arun. 2016. Green blood therapy of wheat grass - Nature’s finest medicine’- A literature review. Journal of Pharmacy and Biological Sciences 11(2): 57-64.

Niroka, P., G. Panprayun and P. Peerakiatkhajohn. 2022. Performance of a solar greenhouse dryer for water hyacinth. International Energy Journal 22(2): 167 – 176.

Pajak, P., R. Socha, D. Galkowska, J. Roznowski and T. Fortuna. 2014. Phenolic profile and antioxidant activity in selected seeds and sprouts. Journal of Agricultural and Food Chemistry 143: 300-306.

Pas'ko, P., H. Barton', P. Zagrodzki, S. Gorinstein, M. Fołta, and Z. Zachwieja. 2009. Anthocyanins, total polyphenols and antioxidant activity in amaranth and quinoa seeds and sprouts during their growth. Food Chemistry 115(3): 994-998.

Sotolu, A.O. 2010. Management and utilization of water hyacinth (Eichhornia crassipes) for improved aquatic resources. Fisheries Society of Nigeria 0006: 162-170.

Tyagi, V., S. Pandit, A. Sharma and R.K. Gupta. 2017. Extraction and characterization of silica from rice husk for use in food industries. International Journal of Food Science and Nutrition 2(4): 50-53.

Vidya, S. and L. Girish. 2014. Water hyacinth as a green manure for organic farming. International Journal of Research in Applied, Natural and Social Sciences 2: 65-72.

Villaluenga, C. M., E. Penas, E. Ciska, M. K. Piskula, H. Kozlowska, C. V. Valverde and J. Frias. 2010. Time dependence of bioactive compounds and antioxidant capacity during germination of different cultivars of broccoli and radish seeds. Journal of Agricultural and Food Chemistry 120(3): 710-716.

Wigmore, A. 1985. The Wheatgrass Book: How to Grow and Use Wheatgrass to Maximize Your Health and Vitality. Avery Publishing Group Inc., United States. 126 p.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-03-03

ฉบับ

บท

บทความวิจัย บทความวิชาการ