การพัฒนาแอปพลิเคชันสำหรับค้นหาผลงานการศึกษาอิสระ ส่วนของภาควิชาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์
DOI:
https://doi.org/10.57260/stc.2023.619คำสำคัญ:
แอปพลิเคชัน, การศึกษาอิสระ, ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างแอปพลิเคชันค้นหาผลงานการศึกษาอิสระ ส่วนของภาควิชาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้แอปพลิเคชันค้นหาผลงานการศึกษาอิสระ ส่วนของภาควิชาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ โดยผู้วิจัย เลือกกลุ่มตัวอย่างจากการเลือกแบบเจาะจง จากนักศึกษา ภาควิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 20 คน จากนักศึกษา 81 คน และชั้นปีที่ 4 จำนวน 30 คน จากนักศึกษา 101 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แอปพลิเคชันการค้นหาผลงานศึกษาอิสระ บนระบบแอนดรอยด์ 2) แบบประเมินประสิทธิภาพภาพการทำงานของแอปพลิเคชันประเมินโดยงผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์ผลผลการวิจัยพบว่า แอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้น สามารถประเมินแบบสอบถามความคิดเห็นประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญด้านประสิทธิภาพมีค่าดัชนีความ สอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 1 สามารถค้นหาผลงานการศึกษาอิสระบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ของภาควิชาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ได้ 3) แบบประเมินความพึงพอใจในการใช้แอปพลิเคชันการค้นหาผลงานศึกษาอิสระบนระบบแอนดรอยด์ วิเคราะห์ผลทางสถิติด้วยค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสามารถประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.64 และโดยมีส่วนค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ 0.22
References
ชญานิน อุประ, ประภาพร ต๊ะดง และ ศิริกรณ์ กันขัติ์. (2566). การพัฒนาสื่อการสอน แอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง แม่ฮ่องสอนเมืองสามหมอก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(1), 48-59. https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/497
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนครพนม. (2555). คู่มือการทำวิทยานิพนธ์และการศึกษาค้นคว้าอิสระ. สืบค้นจาก http://www.npu.ac.th
พรรพฤษา จันทะแจ่ม และ วีนารัตน์ แสวงกิจ. (2566). การพัฒนาแอปพลิเคชันจัดการการนัดหมายการเข้ารับบริการออนไลน์ : กรณีศึกษาคลินิกทันตกรรม. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(4), 31-43. https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/607
พิลาศลักษณ์ ศรแก้ว และ ชนัญธิดา ปิ่นแสงแก้ว. (2566). การหาผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญเชิงเส้นอันดับหนึ่งโดยใช้วิธีอนุกรมกำลังและอินทิเกรต. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(2), 46-55. https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/530
ภาควิชาคอมพิวเตอร์ ราชภัฏเชียงใหม่,(2562).หลักสูตร. สืบค้นจาก https://www.computer.cmru.ac.th/
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.(2560).วิธีดำเนินการวิจัย. สืบค้นจากhttp://www.cmruir.cmru.ac.th/bitstream/123456789/571/6/Chapter3.pdf
รังสรรค์ บุญคำ, มณฑิตา เชือกศรีคราม, วริศรา แก้วสาคร, ปูริดา สุขรื่น และ ดารัตน์ บัวเชย. (2566). การประดิษฐ์และศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของหุ่นยนต์บริการ ที่ควบคุมด้วยระบบไร้สาย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(4), 59-71. https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/621
สุทธินันท์ บุญกาวิน, วัชรพล กันใจ และ ศิริกรณ์ กันขัติ์. (2566). การพัฒนาระบบบริหารจัดการรถเช่า. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน, 1(4), 19-30. https://li02.tci-thaijo.org/index.php/STC/article/view/598
สุรพงษ์ คงสัตย์ และ ธีรชาติ ธรรมวงค์. (2551). การหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC). สืบค้นจาก http://mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.phparticle_id=656&articlegroup_id=146
Kris Piroj. (2018). มาตรวัดของลิเคิร์ท 5 ระดับและวิธ๊ใช้. สืบค้นจาก https://greedisgoods.com
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน “วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน” ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2. เนื้อหาบทความที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใดๆ